กรรมวิธีสกัดสารจากสมุนไพร
สูตร 1 : แช่หรือหมักด้วยน้ำเปล่าพอท่วมหรือน้ำมากกว่า 2-5 เท่าตามความเหมาะสม ทั้งนี้ถ้าใช้น้ำน้อยจะได้สารสกัดที่เข้มข้น หรือใช้น้ำตามปริมาณที่ระบุจากงานวิจัย … การหมักหรือแช่ด้วยน้ำเปล่าจะได้สารออกฤทธิ์ที่น้อยที่สุดในบรรดากรรมวิธี การหมักทุกรูปแบบ
สูตร 2 : สมุนไพร + กากน้ำตาล + จุลินทรีย์ธรรมชาติ อัตรา 3:1:1/2
สูตร 3 : สมุนไพร + น้ำเปล่า + กากน้ำตาล + จุลินทรีย์ธรรมชาติ อัตรา 10:10:1:1:1/2
สูตร 4 : สมุนไพร + น้ำเปล่า + เหล้าขาว + หัวน้ำส้มสายชู อัตรา 10:10:1/2:1/10
สูตร 5 : สมุนไพร + เหล้าขาว + หัวน้ำส้มสายชู อัตรา 10:10:1/10
สูตร 6 : สมุนไพร + เอธิลแอลกอฮอล์ อัตรา 1: 1 หรือ 1:2-3
สูตร พิเศษ : (1) สกัดด้วยอาหารเลี้ยงเชื้อ พีดีเอ. (2) สกัดด้วยปิโตรเลียมอีเทอร์ (3) สกัดด้วยเอกเซนและอาซิโตน (4) สกัดด้วยวิธีต้มกลั่นหรือทำเป็นสารระเหย เป็นกรรมวิธีสกัดภายในห้องทดลองมีอุปกรณ์เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ ทำให้ได้สารออกฤทธิ์บริสุทธิ์และมีประสิทธิภาพสูงสุดเหมาะสำหรับเพื่อการค้า
สูตร 1 : แช่หรือหมักด้วยน้ำเปล่าพอท่วมหรือน้ำมากกว่า 2-5 เท่าตามความเหมาะสม ทั้งนี้ถ้าใช้น้ำน้อยจะได้สารสกัดที่เข้มข้น หรือใช้น้ำตามปริมาณที่ระบุจากงานวิจัย … การหมักหรือแช่ด้วยน้ำเปล่าจะได้สารออกฤทธิ์ที่น้อยที่สุดในบรรดากรรมวิธี การหมักทุกรูปแบบ
สูตร 2 : สมุนไพร + กากน้ำตาล + จุลินทรีย์ธรรมชาติ อัตรา 3:1:1/2
สูตร 3 : สมุนไพร + น้ำเปล่า + กากน้ำตาล + จุลินทรีย์ธรรมชาติ อัตรา 10:10:1:1:1/2
สูตร 4 : สมุนไพร + น้ำเปล่า + เหล้าขาว + หัวน้ำส้มสายชู อัตรา 10:10:1/2:1/10
สูตร 5 : สมุนไพร + เหล้าขาว + หัวน้ำส้มสายชู อัตรา 10:10:1/10
สูตร 6 : สมุนไพร + เอธิลแอลกอฮอล์ อัตรา 1: 1 หรือ 1:2-3
สูตร พิเศษ : (1) สกัดด้วยอาหารเลี้ยงเชื้อ พีดีเอ. (2) สกัดด้วยปิโตรเลียมอีเทอร์ (3) สกัดด้วยเอกเซนและอาซิโตน (4) สกัดด้วยวิธีต้มกลั่นหรือทำเป็นสารระเหย เป็นกรรมวิธีสกัดภายในห้องทดลองมีอุปกรณ์เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ ทำให้ได้สารออกฤทธิ์บริสุทธิ์และมีประสิทธิภาพสูงสุดเหมาะสำหรับเพื่อการค้า
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น