วันเสาร์ที่ 21 มีนาคม พ.ศ. 2563

Korean researchers found substance inhibiting COVID-19

http://m.koreabiomed.com/news/articleView.html?idxno=7744&fbclid=IwAR2lMeeLg2HvaBQVp1ck1azLn6G7m1qF-2hHWW_ycIdDcj4kuc6edLYJvSQ




A recent study is drawing the attention of the medical community, claiming that sea buckthorn berry’s lactic acid bacteria can contain the spread of the new coronavirus by inhibiting the activation of its energy source, purine.

According to a research team at Ehwa Womans University Medical Center, it has confirmed probiotic bacteria extracted from fermented sea buckthorn berry had lots of lactobacillus gasseri (L. gasseri), which represses the activation of purine, an energy source required for the mutation of new coronavirus.


Professor Yoon Ha-na of the Department of Urology at Ehwa Womans University Medical Center
The group of researchers found L. gasseri while conducting experiments related to the inhibition of cytokine activity, and escherichia coli that inflame the bladder.

The researchers, led by Professor Yoon Ha-na of the Urology Department, also discovered that sea buckthorn berry had abundant amounts of ehstreptococcus thermophilus and lactobacillus rhamnosus, which have the same chemical binding site to the COVID-19 and affect the protein activity of AIDS. They also confirmed nine antioxidants, six minerals, and 16 amino acids.

In China, too, a research team led by Professor Ruan Jishou from Nankai University in Tianjin recently discovered that COVID-19 in the human body mutated in a similar way to that of the Ebola and AIDS virus. According to the Chinese research team, the new coronavirus creates spike protein to survive within the human body. The spike protein contacts the cell membrane and attacks purine to acquire energy for its replication.

Korea is also using AIDS drugs to treat COVID-19 patients by inhibiting proteolytic enzyme activity. A patient’s symptoms improved significantly in a few days after administrating Kaletra and AIDS drugs.

Professor Yoon expects the probiotic bacteria in sea buckthorn berry to be a supplementary treatment to suppress COVID-19 spread by inhibiting purine activity.

“I believe the probiotic bacteria will work as a complementary treatment to prevent COVID-19 and will apply the same mechanism to additional studies, including cystitis and hyperlipidemia,” Professor Yoon said.

Professor Jeong Goo-bo of Gachon University Lee Gil Ya Cancer and Diabetes Institute, also said, “I believe L. gasseri, derived from plants, can be effective in preventing COVID-19 spread because it affects the activation of purine enzyme, the energy source for AIDS, hepatitis, Ebola, and COVID-19 virus.”

shim531@docdocdoc.co.kr









วันศุกร์ที่ 20 มีนาคม พ.ศ. 2563

Q&A on coronaviruses (COVID-19) คำถามที่พบบ่อยเกี่ยวกับ COVID-19

WHO is continuously monitoring and responding to this outbreak. This Q&A will be updated as more is known about COVID-19, how it spreads and how it is affecting people worldwide. For more information, check back regularly on WHO’s coronavirus pages. https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019



What is a coronavirus?
Coronaviruses are a large family of viruses which may cause illness in animals or humans.  In humans, several coronaviruses are known to cause respiratory infections ranging from the common cold to more severe diseases such as Middle East Respiratory Syndrome (MERS) and Severe Acute Respiratory Syndrome (SARS). The most recently discovered coronavirus causes coronavirus disease COVID-19.



What are the symptoms of COVID-19?
The most common symptoms of COVID-19 are fever, tiredness, and dry cough. Some patients may have aches and pains, nasal congestion, runny nose, sore throat or diarrhea. These symptoms are usually mild and begin gradually. Some people become infected but don’t develop any symptoms and don't feel unwell. Most people (about 80%) recover from the disease without needing special treatment. Around 1 out of every 6 people who gets COVID-19 becomes seriously ill and develops difficulty breathing. Older people, and those with underlying medical problems like high blood pressure, heart problems or diabetes, are more likely to develop serious illness. People with fever, cough and difficulty breathing should seek medical attention.



How does COVID-19 spread?
People can catch COVID-19 from others who have the virus. The disease can spread from person to person through small droplets from the nose or mouth which are spread when a person with COVID-19 coughs or exhales. These droplets land on objects and surfaces around the person. Other people then catch COVID-19 by touching these objects or surfaces, then touching their eyes, nose or mouth. People can also catch COVID-19 if they breathe in droplets from a person with COVID-19 who coughs out or exhales droplets. This is why it is important to stay more than 1 meter (3 feet) away from a person who is sick.

WHO is assessing ongoing research on the ways COVID-19 is spread and will continue to share updated findings.    

Can the virus that causes COVID-19 be transmitted through the air?
Studies to date suggest that the virus that causes COVID-19 is mainly transmitted through contact with respiratory droplets rather than through the air.  See previous answer on “How does COVID-19 spread?”

Can CoVID-19 be caught from a person who has no symptoms?
The main way the disease spreads is through respiratory droplets expelled by someone who is coughing. The risk of catching COVID-19 from someone with no symptoms at all is very low. However, many people with COVID-19 experience only mild symptoms. This is particularly true at the early stages of the disease. It is therefore possible to catch COVID-19 from someone who has, for example, just a mild cough and does not feel ill.  WHO is assessing ongoing research on the period of transmission of COVID-19 and will continue to share updated findings.    

Can I catch COVID-19 from the feces of someone with the disease?
The risk of catching COVID-19 from the feces of an infected person appears to be low. While initial investigations suggest the virus may be present in feces in some cases, spread through this route is not a main feature of the outbreak. WHO is assessing ongoing research on the ways COVID-19 is spread and will continue to share new findings. Because this is a risk, however, it is another reason to clean hands regularly, after using the bathroom and before eating. 





What can I do to protect myself and prevent the spread of disease?
Protection measures for everyone
Stay aware of the latest information on the COVID-19 outbreak, available on the WHO website and through your national and local public health authority. Many countries around the world have seen cases of COVID-19 and several have seen outbreaks. Authorities in China and some other countries have succeeded in slowing or stopping their outbreaks. However, the situation is unpredictable so check regularly for the latest news.

You can reduce your chances of being infected or spreading COVID-19 by taking some simple precautions:

Regularly and thoroughly clean your hands with an alcohol-based hand rub or wash them with soap and water.
Why? Washing your hands with soap and water or using alcohol-based hand rub kills viruses that may be on your hands.
Maintain at least 1 metre (3 feet) distance between yourself and anyone who is coughing or sneezing.
Why? When someone coughs or sneezes they spray small liquid droplets from their nose or mouth which may contain virus. If you are too close, you can breathe in the droplets, including the COVID-19 virus if the person coughing has the disease.
Avoid touching eyes, nose and mouth.
Why? Hands touch many surfaces and can pick up viruses. Once contaminated, hands can transfer the virus to your eyes, nose or mouth. From there, the virus can enter your body and can make you sick.
Make sure you, and the people around you, follow good respiratory hygiene. This means covering your mouth and nose with your bent elbow or tissue when you cough or sneeze. Then dispose of the used tissue immediately.
Why? Droplets spread virus. By following good respiratory hygiene you protect the people around you from viruses such as cold, flu and COVID-19.
Stay home if you feel unwell. If you have a fever, cough and difficulty breathing, seek medical attention and call in advance. Follow the directions of your local health authority.
Why? National and local authorities will have the most up to date information on the situation in your area. Calling in advance will allow your health care provider to quickly direct you to the right health facility. This will also protect you and help prevent spread of viruses and other infections.
Keep up to date on the latest COVID-19 hotspots (cities or local areas where COVID-19 is spreading widely). If possible, avoid traveling to places  – especially if you are an older person or have diabetes, heart or lung disease.
Why? You have a higher chance of catching COVID-19 in one of these areas.
 



Protection measures for persons who are in or have recently visited (past 14 days) areas where COVID-19 is spreading
Follow the guidance outlined above (Protection measures for everyone)
Self-isolate by staying at home if you begin to feel unwell, even with mild symptoms such as headache, low grade fever (37.3 C or above) and slight runny nose, until you recover. If it is essential for you to have someone bring you supplies or to go out, e.g. to buy food, then wear a mask to avoid infecting other people.
Why? Avoiding contact with others and visits to medical facilities will allow these facilities to operate more effectively and help protect you and others from possible COVID-19 and other viruses.
If you develop fever, cough and difficulty breathing, seek medical advice promptly as this may be due to a respiratory infection or other serious condition. Call in advance and tell your provider of any recent travel or contact with travelers.
Why? Calling in advance will allow your health care provider to quickly direct you to the right health facility. This will also help to prevent possible spread of COVID-19 and other viruses.
 

How likely am I to catch COVID-19?
The risk depends on where you  are - and more specifically, whether there is a COVID-19 outbreak unfolding there.

For most people in most locations the risk of catching COVID-19 is still low. However, there are now places around the world (cities or areas) where the disease is spreading. For people living in, or visiting, these areas the risk of catching COVID-19 is higher. Governments and health authorities are taking vigorous action every time a new case of COVID-19 is identified. Be sure to comply with any local restrictions on travel, movement or large gatherings. Cooperating with disease control efforts will reduce your risk of catching or spreading COVID-19.

COVID-19 outbreaks can be contained and transmission stopped, as has been shown in China and some other countries. Unfortunately, new outbreaks can emerge rapidly. It’s important to be aware of the situation where you are or intend to go. WHO publishes daily updates on the COVID-19 situation worldwide.

You can see these at https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/situation-reports/





Should I worry about COVID-19?
Illness due to COVID-19 infection is generally mild, especially for children and young adults. However, it can cause serious illness: about 1 in every 5 people who catch it need hospital care. It is therefore quite normal for people to worry about how the COVID-19 outbreak will affect them and their loved ones.

We can channel our concerns into actions to protect ourselves, our loved ones and our communities. First and foremost among these actions is regular and thorough hand-washing and good respiratory hygiene. Secondly, keep informed and follow the advice of the local health authorities including any restrictions put in place on travel, movement and gatherings.
Learn more about how to protect yourself at https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/advice-for-public




Who is at risk of developing severe illness?
While we are still learning about how COVID-2019 affects people, older persons and persons with pre-existing medical conditions (such as high blood pressure, heart disease, lung disease, cancer or diabetes)  appear to develop serious illness more often than others. 

Are antibiotics effective in preventing or treating the COVID-19?
No. Antibiotics do not work against viruses, they only work on bacterial infections. COVID-19 is caused by a virus, so antibiotics do not work. Antibiotics should not be used as a means of prevention or treatment of COVID-19. They should only be used as directed by a physician to treat a bacterial infection. 


 Are there any medicines or therapies that can prevent or cure COVID-19?
While some western, traditional or home remedies may provide comfort and alleviate symptoms of COVID-19, there is no evidence that current medicine can prevent or cure the disease. WHO does not recommend self-medication with any medicines, including antibiotics, as a prevention or cure for COVID-19. However, there are several ongoing clinical trials that include both western and traditional medicines. WHO will continue to provide updated information as soon as clinical findings are available.


Is there a vaccine, drug or treatment for COVID-19?
Not yet. To date, there is no vaccine and no specific antiviral medicine to prevent or treat COVID-2019. However, those affected should receive care to relieve symptoms. People with serious illness should be hospitalized. Most patients recover thanks to supportive care.

Possible vaccines and some specific drug treatments are under investigation. They are being tested through clinical trials. WHO is coordinating efforts to develop vaccines and medicines to prevent and treat COVID-19.

The most effective ways to protect yourself and others against COVID-19 are to frequently clean your hands, cover your cough with the bend of elbow or tissue, and maintain a distance of at least 1 meter (3 feet) from people who are coughing or sneezing. (See Basic protective measures against the new coronavirus).


s COVID-19 the same as SARS?
No. The virus that causes COVID-19 and the one that caused the outbreak of Severe Acute Respiratory Syndrome (SARS) in 2003 are related to each other genetically, but the diseases they cause are quite different.

SARS was more deadly but much less infectious than COVID-19. There have been no outbreaks of SARS anywhere in the world since 2003.

Should I wear a mask to protect myself?
Only wear a mask if you are ill with COVID-19 symptoms (especially coughing) or looking after someone who may have COVID-19. Disposable face mask can only be used once. If you are not ill or looking after someone who is ill then you are wasting a mask. There is a world-wide shortage of masks, so WHO urges people to use masks wisely.

WHO advises rational use of medical masks to avoid unnecessary wastage of precious resources and mis-use of masks  (see Advice on the use of masks).

The most effective ways to protect yourself and others against COVID-19 are to frequently clean your hands, cover your cough with the bend of elbow or tissue and maintain a distance of at least 1 meter (3 feet) from people who are coughing or sneezing. See basic protective measures against the new coronavirus for more information.


How to put on, use, take off and dispose of a mask?
  1. Remember, a mask should only be used by health workers, care takers, and individuals with respiratory symptoms, such as fever and cough.
  2. Before touching the mask, clean hands with an alcohol-based hand rub or soap and water
  3. Take the mask and inspect it for tears or holes.
  4. Orient which side is the top side (where the metal strip is).
  5. Ensure the proper side of the mask faces outwards (the coloured side).
  6. Place the mask to your face. Pinch the metal strip or stiff edge of the mask so it moulds to the shape of your nose.
  7. Pull down the mask’s bottom so it covers your mouth and your chin.
  8. After use, take off the mask; remove the elastic loops from behind the ears while keeping the mask away from your face and clothes, to avoid touching potentially contaminated surfaces of the mask.
  9. Discard the mask in a closed bin immediately after use.
  10. Perform hand hygiene after touching or discarding the mask – Use alcohol-based hand rub or, if visibly soiled, wash your hands with soap and water.

How long is the incubation period for COVID-19?
The “incubation period” means the time between catching the virus and beginning to have symptoms of the disease. Most estimates of the incubation period for COVID-19 range from 1-14 days, most commonly around five days. These estimates will be updated as more data become available.




Can humans become infected with the COVID-19 from an animal source?
Coronaviruses are a large family of viruses that are common in animals. Occasionally, people get infected with these viruses which may then spread to other people. For example, SARS-CoV was associated with civet cats and MERS-CoV is transmitted by dromedary camels. Possible animal sources of COVID-19 have not yet been confirmed.  

To protect yourself, such as when visiting live animal markets, avoid direct contact with animals and surfaces in contact with animals. Ensure good food safety practices at all times. Handle raw meat, milk or animal organs with care to avoid contamination of uncooked foods and avoid consuming raw or undercooked animal products.




Can I catch COVID-19 from my pet?
While there has been one instance of a dog being infected in Hong Kong, to date, there is no evidence that a dog, cat or any pet can transmit COVID-19. COVID-19 is mainly spread through droplets produced when an infected person coughs, sneezes, or speaks. To protect yourself, clean your hands frequently and thoroughly. 

WHO continues to monitor the latest research on this and other COVID-19 topics and will update as new findings are available.



How long does the virus survive on surfaces?
It is not certain how long the virus that causes COVID-19 survives on surfaces, but it seems to behave like other coronaviruses. Studies suggest that coronaviruses (including preliminary information on the COVID-19 virus) may persist on surfaces for a few hours or up to several days. This may vary under different conditions (e.g. type of surface, temperature or humidity of the environment).

If you think a surface may be infected, clean it with simple disinfectant to kill the virus and protect yourself and others. Clean your hands with an alcohol-based hand rub or wash them with soap and water. Avoid touching your eyes, mouth, or nose.




Is it safe to receive a package from any area where COVID-19 has been reported?
Yes. The likelihood of an infected person contaminating commercial goods is low and the risk of catching the virus that causes COVID-19 from a package that has been moved, travelled, and exposed to different conditions and temperature is also low. 



Is there anything I should not do?
The following measures ARE NOT effective against COVID-2019 and can be harmful:

  • Smoking
  • Wearing multiple masks
  • Taking antibiotics (See question 10 "Are there any medicines of therapies that can prevent or cure COVID-19?")
In any case, if you have fever, cough and difficulty breathing seek medical care early to reduce the risk of developing a more severe infection and be sure to share your recent travel history with your health care provider.






Coronavirus

Coronaviruses (CoV) are a large family of viruses that cause illness ranging from the common cold to more severe diseases such as Middle East Respiratory Syndrome (MERS-CoV) and Severe Acute Respiratory Syndrome (SARS-CoV). A novel coronavirus (COVID-19) is a new strain that has not been previously identified in humans.  

Coronaviruses are zoonotic, meaning they are transmitted between animals and people.  Detailed investigations found that SARS-CoV was transmitted from civet cats to humans and MERS-CoV from dromedary camels to humans. Several known coronaviruses are circulating in animals that have not yet infected humans. 

Common signs of infection include respiratory symptoms, fever, cough, shortness of breath and breathing difficulties. In more severe cases, infection can cause pneumonia, severe acute respiratory syndrome, kidney failure and even death. 

Standard recommendations to prevent infection spread include regular hand washing, covering mouth and nose when coughing and sneezing, thoroughly cooking meat and eggs. Avoid close contact with anyone showing symptoms of respiratory illness such as coughing and sneezing.

ไวรัสโคโรน่าเป็นไวรัสที่จัดอยู่ในวงศ์ใหญ่ที่สุดในบรรดาไวรัสที่พบในทั้งสัตว์และคน ไวรัสโคโรน่ายังเป็นสาเหตุทำให้เกิดความเจ็บป่วยต่าง ๆ ตั้งแต่โรคหวัดธรรมดาจนถึงโรคที่ทำให้เกิดความเจ็บป่วยอย่างรุนแรง เช่น โรคทางเดินหายใจตะวันออกกลาง (MERS) และ โรคระบบทางเดินหายใจเฉียบพลันร้ายแรง  (SARS) 

ผู้ที่ติดเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 นี้จะมีอาการเช่นเดียวกับผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ โดยจะแสดงอาการตั้งแต่ระดับความรุนแรงน้อย ได้แก่ คัดจมูก เจ็บคอ ไอ และมีไข้ โดยในบางรายที่มีอาการรุนแรงจะมีอาการปอดบวมหรือหายใจลำบากร่วมด้วย บางรายเสียชีวิตได้แต่พบไม่บ่อยนัก แต่หากผู้สูงอายุและผู้ที่มีโรคประจำตัว เช่น เบาหวาน และโรคหัวใจ จะเป็นกลุ่มที่เสี่ยงต่อการเจ็บป่วยรุนแรงหากได้รับเชื้อไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่

มาตรฐานองค์การอนามัยโลก ได้แนะนำให้ประชาชน ลดการสัมผัสปัจจัยเสี่ยงและการแพร่เชื้อในระยะต่างๆ มาตรฐานนี้ยังแนะนำให้ล้างมือ ดูแลสุขอนามัยทางเดินหายใจ เมื่อไอหรือจามให้ใช้ข้อพับแขนด้านในปิดปากหรือใช้กระดาษชำระแล้วทิ้งในถังขยะ รับประทานอาหารที่ สุก สะอาด ปลอดภัย และหลีกเลี่ยงการสัมผัสกับผู้ที่มีอาการเจ็บป่วยที่เกี่ยวข้องกับระบบทางเดินหายใจ เช่น ผู้ที่มีอาการไอ หรือจาม

วันจันทร์ที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 2563

สรรพคุณสมุนไพรเกี่ยวกับเส้นผม

1. หมีเหม็น หรือ หมี่ (Litsea glutinosa) 
มีสารออกฤทธิ์สำคัญคือ สารเมือก (mucilage) ในกลุ่ม polysaccharide และพบสารกลุ่มอัลคาลอยด์ เช่น laurelliptine, N-acetyl- laurelliptine, laruotetanine, N-acetyl-laurotetanine, N-methyl-laurotetanine, liriodenine, litseferine, และ sebiferine เป็นต้น สรรพคุณตามตำรายาไทยใช้ใบขยี้กับน้ำสระผม หรือพอกศีรษะเพื่อฆ่าเหา และมีผลการวิจัยระบุว่า ตำรับแชมพูซึ่งมีสารสกัดเอทานอล และน้ำคั้นจากใบหมี่เป็นส่วนประกอบ มีผลช่วยลดอัตราการร่วงของผมอาสาสมัครลง 23.46 และ 28.356% ตามลำดับ

2. ว่านมหาเมฆ (Curcuma aeruginosa) 
มีสารออกฤทธิ์สำคัญคือ curcumenol, curdione, curzerenone, isofrtungermacrene, germacene, และ zedoarone เป็นต้น มีผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์กับเส้นผมระบุว่า โลชั่นบำรุงเส้นผมที่มีน้ำมันหอมระเหยจากว่านมหาเมฆเป็นส่วนประกอบ 1-5% สามารถช่วยลดอาการผมร่วงได้

3. ทองพันชั่ง (Rhinacanthus nasutus) 
มีสารออกฤทธิ์สำคัญคือ carboxylic acid, flavonoid, glycoside, phenols, pmino acid, rhinacanthins และ rhinacanthone เป็นต้น มีสรรพคุณ ใช้ใบรักษาโรคผิวหนัง กลากเกลื้อน ผื่นคันเรื้อรัง ช่วยลดผมร่วง แก้โรคผิวหนัง ขจัดเชื้อราและแบคทีเรียที่รากผม กระตุ้นการงอกของเส้นผมทำให้ผมดำเป็นเงางามโดยสารกลุ่ม naphthoquinones เช่น rhinacanthin-C, rhinacanthin-D, rhinacanthin-N มีทธิ์ต้านเชื้อรา นอกจากนี้มีผลงานวิจัยทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับการใช้ประโยชน์กับเส้นผมระบุว่า สากสกัดเอทิลแอลกอฮอล์จากต้นทองพันชั่งมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ 5-reductase ซึ่งเอนไซม์ที่ทำให้เกิดการสร้างฮอร์โมน dihydrotestosterone (DHT) ซึ่งเป็นสาเหตุหนึ่งของอาการผมร่วง

4. ขลู่ (Pluchea indica) 
มีสารออกฤทธิ์สำคัญคือ สารกลุ่ม cauhatemone และ saponin และสารประเภทเกลือแร่ เช่น sodium chloride และ potassium ไม่พบการใช้ประโยชน์ทางพื้นบ้านหรือการศึกษาวิจัยทางวิทยาศาสตร์ที่เกี่ยวกับการบำรุงผมหรือหนังศีรษะ

5. คนทีสอทะเล (Vitex rotundifolia) 
มีสารออกฤทธิ์สำคัญคือ สารกลุ่มโพลีฟีนอล สรรพคุณตามตำรายาไทยใช้ใบขยี้สระผมหรือใช้หมักผมช่วยฆ่าเชื้อราบนหนังศีรษะ และมีผลการวิจัยระบุว่า ตำรับแชมพูซึ่งมีสารสกัดจากใบคนทีสอทะเลเป็นส่วนประกอบมีฤทธิ์ช่วยยับยั้งอาการผมร่วงและกระตุ้นการเจริญของเส้นผมได้

6. อัญชัน (Clitoria ternatea) 
สารออกฤทธิ์สำคัญคือ anthocyanin และสารในกลุ่ม phenolic สรรพคุณตามตำรายาไทยใช้ดอกสระผมเป็นยาแก้ผมร่วง และมีผลการวิจัยระบุว่า สารสกัดเอทานอลจากดอกอัญชันมีฤทธิ์ยับยั้งเอนไซม์ 5α-reductase ช่วยลดอาการผมร่วง และมีฤทธิ์การกระตุ้นเอนไซม์ tyrosinase ที่มีบทบาทในกระบวนการสร้างเซลล์เม็ดสีเมลานิน ซึ่งเป็นประโยชน์ในแง่ของการช่วยชะลออาการผมหงอกก่อนวัยได้

เอกสารอ้างอิง :
1. หนังสือองค์ความรู้เรื่องพืชป่าที่ใช้ประโยชน์ทางภาคเหนือของไทย
2. หนังสือสารานุกรมสมุนไพรไทย-จีน
3. ฐาน PHARM





การสกัดสมุนไพร

การต้ม
- ชั่งสมุนไพร ย่อยให้ขนาดเล็กพอประมาณ
- เติมน้ำ 3-5 เท่าของน้ำหนัก ถ้าเป็นสมุนไพรสดจะใช้น้ำน้อยกว่า โดยให้น้ำท่วมสูงเกินสมุนไพประมาณ 5 นิ้ว จดน้ำหนักที่ใช้ ถ้าเป็นสมุนไพรแห้งให้แช่ในน้ำ 20 นาที ก่อนนำขึ้นตั้งไฟปานกลางจนเดือด จับเวลาเมื่อเริ่มเดือด ใช้เวลาประมาณ 30-45 นาที หากน้ำแห้งให้เติมน้ำ เมื่อสีน้ำสกัดไม่เข้มจากเดิม ให้ยกลง กรองด้วยผ้าขาวบาง 3 ชั้น
- นำกากมาต้มซ้ำ เช่นเดิม
- รวมน้ำสกัด 2 ครั้งเข้าด้วยกัน
- ตั้งไฟเคี่ยวต่อจนได้น้ำหนักที่ต้องการ ส่วนใหญ่จะนิยมให้น้ำหนักน้ำสกัดเท่ากับน้ำหนักสมุนไพรที่นำมาสกัด เช่น สมุนไพร 1 กก. เมื่อสกัดเสร็จแล้ว ได้น้ำสกัด 1 กก. ซึ่งง่ายต่อการคำนวณสัดส่วน ข้อเสีย กรณีที่จะเตรียมเก็บนานๆ อาจมีเชื้อแบคทีเรีย หรือรา ทำให้บูดเน่าเสียได้ง่าย สามารถแก้ไขได้ 2 วิธี คือ เติมสารกันเสีย หรือเคี่ยวให้เข้มข้นที่สุดเท่าที่จะทำได้ เช่น เคี่ยวจนเหลือน้ำหนัก 1 ใน 5 แต่ต้องระวังไม่ให้ไหม้ และจดน้ำหนักสุดท้ายที่ได้ หลังจากนั้นให้สรุปการสกัด และเก็บข้อมูลไว้เป็นเทคนิคในการสกัดครั้งต่อไป

การคั้นน้ำสด
- สารสกัดที่ได้ อาจเรียกว่า น้ำสกัดหรือน้ำคั้น ในที่นี้ เรียกว่าน้ำคั้น ต้องใช้สมุนไพรสด บีบเอาแต่น้ำ เหมาะสำหรับสมุนไพรที่ทนความร้อนไม่ได้
วิธีเตรียม แยกเป็น 2 วิธี เลือกใช้ตามความเหมาะสม
- วิธีที่ 1 น้ำคั้นผลไม้ เช่น น้ำคั้นผลส้ม น้ำคั้นผลมะเฟือง
วิธีทำ ล้างทำความสะอาดผิวด้านนอกของผลไม้ ผ่าซีก บีบด้วยเครื่อง
- วิธีที่ 2 น้ำคั้นใบหรือเหง้า เช่น น้ำขมิ้น
เครื่องมือ เครื่องปั่นผลไม้
วิธีทำ ปั่นสมุนไพรสดกับน้ำ จำนวนครึ่งเท่าของน้ำหนักสมุนไพรในเครื่องปั่นน้ำผลไม้ กรองด้วยผ้าขาวบาง
ข้อเสีย การสกัดแบบนี้ สารสกัดสมุนไพรไม่ค่อยคงตัว มักต้องใช้สารกันบูด ควรเตรียมแล้วใช้ทันที หรือแช่เย็นไว้ 1 วัน ก่อนนำไปใช้

การเคี่ยวด้วยน้ำมัน
น้ำมันที่ใช้ควรเป็นน้ำมันปาล์ม หรือน้ำมันมะพร้าว สัดส่วนสมุนไพรที่ใช้ ให้ใช้สมุนไพรสด หรือแห้ง 1-2 เท่าของน้ำมันพืช
วิธีทำ
- ชั่งน้ำหนักสมุนไพร
- ชั่งน้ำหนักน้ำมันพืช ยกขึ้นตั้งไฟปานกลาง
- เมื่อน้ำมันพืชร้อน ประมาณ 100-150 องศาเซลเซียส ใส่สมุนไพรลงไปทีละน้อย ทอดจนกรอบ ตักกากสมุนไพรทิ้ง เติมลงไปทีละน้อย ทำซ้ำ จนหมด
- กรองน้ำมันพืชด้วยผ้าขาวบาง 3 ชั้น นำน้ำมันไปใช้

การสกัดด้วยแอลกอฮอล์
การหมัก (Maceration)
- ชั่งสมุนไพร ใส่ในถุงผ้า
- แช่แอลกอฮอล์ 2-3 เท่าตัวในภาชนะปิดสนิททิ้งไว้ 7 วัน คนทุกวัน
- กรองเอาส่วนน้ำ บีบสารละลายออกจากกาก
- แล้วเติมสารละลาย เพื่อล้างกาก ทำซ้ำอีกครั้ง เป็นการหมักซ้ำ เพื่อให้ได้สารสกัดมากที่สุด
- เอาสารสกัด 2 ครั้งรวมกัน ระเหยแอลกอฮอล์ออกด้วยเครื่องระเหยสุญญากาศหรือตั้งบนหม้ออังไอน้ำ ก่อนนำไปใช้งานหรือผสมในผลิตภัณฑ์ต่างๆ เช่น เครื่องสำอาง
อย่างไรก็ตาม การสกัดสมุนไพรแต่ละชนิดอาจต้องใช้ตัวทำละลายและวิธีการแตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับว่าเราต้องการสกัดสารสำคัญใดจากพืชสมุนไพรนั้น และสารสำคัญนั้นมีคุณสมบัติอย่างไรค่ะ เช่น สารมีขั้ว (สารละลายน้ำ เช่น กรดอินทรีย์ในมะขาม ) สารกึ่งมีขั้ว (สารละลายแอลกอฮอล์ เช่น สารแทนนินจากเปลือกมังคุด) และสารไม่มีขั้ว (ไม่ละลายน้ำ) เช่น น้ำมันหอมระเหย ต้องสกัดด้วยเฮกเซน หรือการกลั่นด้วยไอน้ำ เป็นต้น สำหรับเอกสารอ้างอิงของการสกัดสารสำคัญต่างๆ จากสมุนไพรแต่ละชนิด สามารถค้นหาได้ในหนังสือที่อธิบายเกี่ยวกับเทคนิคการสกัดสารต่างๆ หรืองานวิจัยจากฐานข้อมูลต่างๆ เช่น pubmed, scifinder, scidirect เป็นต้น หรือค้นหาเพิ่มเติมด้วยตัวเองได้ที่ สนง.ข้อมูลสมุนไพร ค่ะ

เอกสารอ้างอิง :
หนังสือคู่มือผลิตภัณฑ์เครื่องสำอางเพื่อเศรษฐกิจชุมชน
http://www.teacher.ssru.ac.th/kittisak_ja/pluginfile.php/98/block_html/content/4-การสกัดแยกพิสูจน์เอกลักษณ์ของสารสำคัญจากสมุนไพร-kitthisak.pdf
http://www.fda.moph.go.th/sites/drug/Shared%20Documents/New/nlem2561.PDF

รักษาโรคเก๊าใด้จริงหรือเปล่า

ตามสรรพคุณพื้นบ้านอีสานจะใช้

เถาต้นโคคลาน 2 ส่วน 
ทองพันชั่ง 
โด่ไม่รู้ล้มและมะตูม 

อีกอย่างละ 1 ส่วน 

ต้มดื่มแก้ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ 

และมีรายงานวิจัยว่าเถาโคคลานมีฤทธิ์แก้ปวดและต้านการอักเสบ
เมื่อทดสอบในหนูได้ 

อย่างไรก็ตามยังไม่มีรายงานว่าสามารถรักษาโรคเก๊าต์ 

แต่อาจเป็นไปได้ว่าตำรับยาโคคลานจะช่วยบรรเทาอาการปวดกล้ามเนื้อ จึงทำให้อาการทุเลาลง

ตำรับยาโคคลานมีสรรพคุณ
แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้ปวดกระดูก ปวดข้อ ปวดหลัง ปวดเอว ใน

ตำรับประกอบด้วย โคคลาน 2 ส่วน ทองพันชั่ง โด่ไม่รู้ล้ม และมะตูมอย่างละ 1 ส่วน 

โดยปกติจะเตรียมยาในรูปแบบของยาต้ม โดยใส่น้ำให้ท่วมยา นำไปต้มเดือด แล้วรินดื่มก่อนอาหารครั้งละ 1 แก้ว วันละ 3 เวลา อุ่นยากินจนยาจืด จึงเปลี่ยนยาหม้อใหม่



               ปัจจุบันมีการนำยาตำรับนี้มาบดผงใส่แคปซูลขนาด 500 มิลลิกรัม รับประทานก่อนอาหารครั้งละ 2 แคปซูล วันละ 3 เวลา






ทองพันชั่ง

ทองพันชั่ง :  ทองคันชั่ง หญ้ามันไก่ (ภาคกลาง)



สรรพคุณ :

ราก 
- แก้กลากเกลื้อน รักษาโรคมะเร็ง รักษาโรคผิวหนัง ดับพิษไข้ แก้พิษงู แก้พยาธิวงแหวนตาผิวหนัง

ทั้งต้น 
- รักษาโรคผิวหนัง แก้น้ำเหลืองเสีย แก้กลากเกลื้อน ผื่นคัน รักษามะเร็ง คุดทะราด ขับพยาธิตามผิวหนัง ตามบาดแผล แก้ไส้เลื่อน ไส้ลาม แก้ปัสสาวะผิดปกติ

ต้น 
- บำรุงร่างกาย แก้โรค 108 ประการ รักษาโรคผมร่วง

ใบ 
- ดับพิษไข้ แก้กลากเกลื้อน ผื่นคัน แก้โรคไขข้ออักเสบ รักษาโรคผิวหนัง รักษาโรคมะเร็ง รักษาโรคความดันโลหิตสูง แก้ผมร่วง บำรุงร่างกาย แก้โรค 108 ประการ แก้ปวดฝี แก้พิษงู ถอนพิษ แก้อักเสบ แก้โรคมุตกิต รักษาโรคพยาธิวงแหวนตามผิวหนัง

ถ้าเป็นผื่นผ้าอ้อม ก็ใช้ผงขมิ้นชันละลายน้ำทา หรือผสมแป้งทา วันละ 3 ครั้ง หรือเอาใบทองพันชั่งมาคั้นเอาน้ำทาบริเวณที่เป็น เช้า - เย็น

นอกจากนี้ยังใช้ผสมในตำรับยาร่วมกับสมุนไพรอื่นๆ รักษาโรคต่อไปนี้คือ

ราก 
- รักษามะเร็งเนื้องอก รักษามะเร็งปอด กระเพาะลำไส้ มะเร็งตามร่างกาย ทำให้ผมดกดำ แก้ไอเป็นเลือด อาเจียนเป็นเลือด แก้ริดสีดวงทวาร ดับพิษไข้ รักษาโรคผิวหนัง แก้กระษัย แก้ผมหงอก ผมร่วง รักษาโรคตับพิการ รักษาโรครูมาติซึม รักษาโรคไขข้อพิการ แก้ลมเข้าข้อทำให้ปวดบวมต่างๆ ขับปัสสาวะ แก้แมงเคียนกินรากผม แก้เหา แก้รังแค

ทั้งต้น  
- รักษาโรคผิวหนัง คุดทะราด แก้เม็ดผื่นคัน

ต้น 
- รักษามะเร็งเนื้องอก รักษามะเร็งปอด มะเร็งกระเพาะ มะเร็งตามร่างกาย มะเร็งลำไส้ แก้แมงเคียนกินรากผม แก้เหา แก้รังแค รักษาโรคผิวหนัง

ใบ 
- แก้แมงเคียนกินรากผม แก้เหา แก้รังแค รักษาโรคผิวหนัง แก้ไข้ แก้ปวดหัวตัวร้อน แก้มะเร็งไช แก้หิดมะตอย รักษาโรคมะเร็ง รักษาวัณโรค แก้ใจระส่ำระสาย แก้คลุ้มคลั่ง แก้สารพัดพิษ

นอกจากนี้ในตำราบางเล่ม ยังได้กล่าวถึงสรรพคุณทองพันชั่ง โดยไม่ได้ระบุว่าใช้ส่วนใดของพืช หรือส่วนใดในตำรายาร่วมกับสมุนไพรอื่นๆ ในการบำบัดรักษาโรคต่างๆ ดังต่อไปนี้คือ

- รักษาโรคความดันโลหิตสูง รักษาโรคมะเร็ง แก้มุตกิตระดูขาว เป็นยาอายุวัฒนะ แก้ผมร่วง รักษาโรคนิ่ว

- แก้เคล็ดขัดยอกชายโครง มือเคล็ด คอเคล็ด แก้มะเร็งในกระเพาะ แก้ฝีประคำร้อย แก้มะเร็งในคอ แก้มะเร็งในปาก แก้ไข้เหนือ แก้จุกเสียด เป็นยาหยอดตา แก้ไอเป็นเลือด แก้ช้ำใน แก้นิ่ว แก้โรคผิวหนัง แก้ลมสาร แก้มะเร็งในปอด แก้มะเร็งภายในและภายนอก

วิธีและปริมาณที่ใช้ :

ใช้รับประทานเป็นยาภายใน รักษาโรคมะเร็ง และวัณโรคระยะเริ่มแรก

1. ใช้ทั้งต้น สด จำนวน 30 กรัม ต้มกับน้ำ จำนวนท่วมใบยา ต้มดื่มต่างน้ำ

2. ใช้ก้านและใบสด 30 กรัม (แห้ง 10-15 กรัม) ผสมน้ำตาลกรวดต้มน้ำดื่ม รักษาโรคปอดระยะเริ่มแรก

ใช้เป็นยาภายนอก แก้โรคผิวหนัง กลากเกลื้อนและผื่นคันอื่นๆ

1. ใช้ใบสด 5-8 ใบ หรือ รากสด 2-3 ราก
ใบสดตำให้ละเอียด เติมเหล้าโรงเล็กน้อย ทาบริเวณที่เป็นเกลื้อน หรือเอารากมาป่น แช่เหล้าไว้ 1 สัปดาห์ กรองเอาน้ำยาที่แช่มาทา ทาบ่อยๆ จนกว่าจะหาย

2. ใช้ใบสดตำผสมน้ำมันดิบ หรือ แอลกอฮอล์ 75% ทาบริเวณที่เป็น
.
ในบัญชียาหลักแห่งชาติ

ได้ระบุว่ายาสมุนไพรที่ใช้ ทาแก้กลากเกลื้อน โรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อรา น้ำกัดเท้า คือ ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง 

ซึ่งเตรียมได้จาก สารสกัดเอทิลแอลกอฮอล์ (70 เปอร์เซ็นต์) ของใบทองพันชั่งสด (Rhinacanthus nasutus (L.) Kurz) ร้อยละ 10 โดยน้ำหนักต่อปริมาตร (w/v) 

โดยใช้ทาบริเวณที่มีอาการ วันละ 2 ครั้ง เช้า – เย็น ทาจนกว่าจะหาย และใช้ต่อเนื่องอีก อย่างน้อย 2 สัปดาห์ แต่ห้ามทาบริเวณขอบตา เนื้อเยื่ออ่อน ผิวหนังที่มีบาดแผลหรือมีแผลเปิด








วันพฤหัสบดีที่ 12 มีนาคม พ.ศ. 2563

ฤทธิ์ยับยั้งการเจริญและการแพร่กระจายของเซลล์มะเร็งปอด A549 ของสารแอนโดรกราโฟไลด์ที่แยกจากฟ้าทะลายโจร

ชุติมา แก้วพิบูลย์
ณวงศ์ บุนนาค

(ติดต่อซ์้อฟ้าทะลายโจร โทร+ไลน์ 0809898770)


Abstract

Lung cancer has been a disease with high fatality rate due to the high metastatic rate. One of the most essential processes of metastasis is the ability of cancer cells to undergo the epithelial to mesenchymal transition (EMT) which allows cancer cells to resist the programmed cell death in a detached condition and to migrate into the surrounding organ tissue. Andrographolide has been a promising naturally derived compound for cancer therapy due to several cytotoxic effects in various cancer cells. Therefore, this study has demonstrated that andrographolide inhibits cell proliferation and metastasis process in A549 human lung cancer cells. Cytotoxicity of andrographolide on A549 and Vero cells using MTT assay showed that andrographolide decreased the viability of A549 human lung cancer cells with IC50 value at 5.51 µg/mL, whereas it performed non-cytotoxic against Vero normal cell lines. Furthermore, andrographolide decreased the migration process. As the results, andrographolide is found to be a potential compound for studying its mechanisms to further develop as cancer therapeutic drug.

https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tstj/issue/view/16325

Author Biographies

ชุติมา แก้วพิบูลย์

สาขาวิชาชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง ตำบลบ้านพร้าว อำเภอป่าพะยอม จังหวัดพัทลุง 93210

ณวงศ์ บุนนาค

สาขาวิชาวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์พื้นฐาน คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ ตำบลเขารูปช้าง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา 90000


References

[1] Luo, X., Luo, W., Lin, C., Zhang, L. and Li, Y., 2014, Andrographolide inhibits proliferation of human lung cancer cells and the related mechanisms, Int. J. Clin. Exp. Med. 7: 4220-4225.
[2] Zhu, X. and Li, J.I.N., 2010, Gastric carcinoma in China: Current status and future perspectives (review), Oncol. Lett. 1: 407-412.
[3] Marcaccini, A..M., Meschiari, C.A., Zuardi, L.R., de Sousa, T.S., Taba, M., Teofilo, J.M., Jacob-Ferreira, A..L, Tanus-Santos, J.E., Novaes, A.B. and Gerlach, R.F., 2010, Gingival crevicular fluid levels of MMP-8, MMP-9, TIMP-2, and MPO decrease after periodontal therapy, J. Clin. Periodontol. 37: 180-190.
[4] Department of Medical Sciences, Ministry of Public Health, Thailand, 2007, Thai Herbal Pharmacopoeia, Volume II, Office of Notional Buddishm Press, Bangkok.
[5] Akhtar, M.T., Bin Mohd Sarib, M.S., Ismail, I.S., Abas, F., Ismail, A., Lajis, N.H. and Shaari, K., 2016, Anti-Diabetic activity and metabolic changes Induced by Andrographis paniculata plant extract in obese diabetic rats, Molecules 21(8): E1026.
[6] Low, M., Khoo, C.S., Münch, G., Govindaraghavan, S. and Suche, N.J., 2015, An in vitro study of anti-inflammatory activity of standardised Andrographis paniculata extracts and pure andrographolide, BMC Comp. Altern. Med. 15(1): 18.
[7] Menon, V. and Bhat, S., 2010, Anticancer activity of andrographolide semisynthetic derivatives, Nat. Prod. Commun. 5: 717-720.
[8] Dai, L., Wang, G. and Pan, W., 2017, Andrographolide inhibits proliferation and metastasis of SGC7901 gastric cancer cells, BioMed Res. Inter. 2017: 1-10.
[9] Liu, Z., Law, W.K., Wang, D., Nie, X., Sheng, D., Song, G., Guo, K., Wei, P., Ouyang, P., Wong, C.W. and Zhou, G.C., 2014, Synthesis and discovery of andrographolide derivatives as non-steroidal farnesoid X receptor (FXR) antagonists, RSC Adv. 4: 13533-13545.
[10] Kaewpiboon, C., Lirdprapamongkol, K., Srisomsap, C., Winayanuwattikun, P., Yongvanich, T., Puwaprisirisan, P, Svasti, J. and Assavalapsakul, W., 2012, Studies of the in vitro cytotoxic, antioxidant, lipase inhibitory and antimicrobial activities of selected Thai medicinal plants, BMC Comp. Altern. Med. 12: 217-222.
[11] Rajani, M., Shrivastava, N. and Ravishankara, M.N., 2000, A rapid method for isolation of andrographolide from Andrographis paniculata Nees (kalmegh), Pharm. Biol. 38: 204-209.
[12] National Center for Biotechnology Information, 2018, Andrographolide, Available Source: https://pubchem.ncbi.nlm.nih.gov/compound/5318517PubChemCompoundDatabase;CID=5318517, May 1, 2018.
[13] Zhao, F., He, E.Q., Wang, L. and Liu, K., 2008, Anti-tumor activities of andrographolide, a diterpene from Andrographis paniculata, by inducing apoptosis and inhibiting VEGF level, J. Asian Nat. Prod. Res. 10: 467-473.
[14] Hsieh, M.J., Lin, C.W., Chiou, H.L., Yang, S.F. and Chen, M.K., 2015, Dehydroandrographolide, an iNOS inhibitor, extracted from Andrographis paniculata (Burm.f.) Nees, induces autophagy in human oral cancer cells, Oncotarget 6: 30831-30849.
[15] Shao, F., Tan, T., Tan, Y., Sun, Y., Wu, X. and Xu, Q., 2016, Andrographolide alleviates imiquimod-induced psoriasis in mice via inducing autophagic proteolysis of MyD88, Biochem. Pharm. 115: 94-103.
[16] Lee, Y.C., Lin, H.H., Hsu, C.H., Wang, C.J., Chiang, T.A. and Chen, J.H., 2010, Inhibitory effects of andrographolide on migration and invasion in human non-small cell lung cancer A549 cells via down-regulation of PI3K/Akt signaling pathway, Eur. J. Pharm. 632: 23-32.
[17] Islam, M.T., Ali, E.S., Uddin, S.J., Islam, M.A., Shaw, S., Khan, I.N., Saravi, S.S.S., Ahmad, S., Rehman, S., Gupta, V.K., Gaman, M.A., Gaman, A.M., Yele, S., Das, A.K., Castro, E.S.J.M., Moura Dantas, S.M.M., Rolim, H.M.L., Carvalho Melo-Cavalcante, A.A., Mubarak, M.S., Yarla, N.S., Shilpi, J.A., Mishra, S.K., Atanasov, A.G. and Kamal, M.A., 2018, Andrographolide, a diterpene lactone from Andrographis paniculata and its therapeutic promises in cancer, Cancer Lett. 420: 129-145.


https://li01.tci-thaijo.org/index.php/tstj/article/view/235655

วันจันทร์ที่ 9 มีนาคม พ.ศ. 2563

บอระเพ็ด มีตัวผู้ตัวเมียด้วยรึ แล้วอันตรายไหม


บอระเพ็ดเพศไหนดีกว่ากันครับและควรนำมาใช้มากที่สุดครับ

คำตอบ : 

บอระเพ็ด หรือ บอระเพ็ดตัวเมีย มีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Tinospora crispa

ชิงช้าชาลี หรือ บอระเพ็ดตัวผู้ มีชื่อวิทยาศาสตร์คือ Tinospora baenzigeri

ทั้ง 2 ต้น มีสรรพคุณคล้ายกันคือ ดับพิษร้อนถอนพิษไข้ ช่วยให้เจริญอาหาร แก้ร้อนในกระหายน้ำ บำรุงกำลัง บำรุงธาตุ แก้ฝีดาษ และแก้ฟกบวม

 ส่วนข้อมูลการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาพบว่า บอระเพ็ดถูกนำมาศึกษามากกว่า 

แต่ไม่มีการศึกษาเปรียบเทียบฤทธิ์หรือองค์ประกอบทางเคมีระหว่าง 2 ต้น

การใช้ประโยชน์พื้นบ้าน 
ส่วนใหญ่คนทั่วไปจะนำมาใช้เลยทั้ง 2 ตั้น โดยไม่แยกว่าตัวผู้หรือตัวเมีย ซึ่งถือว่าใช้ได้ 

ยกเว้นบางกรณีที่ต้องใช้เฉพาะ หรือมีการระบุต้นโดยเฉพาะเพื่อรักษาโรค ก็ต้องใช้ให้ถูกต้องตามที่กำหนด (อ้างอิง : https://bit.ly/2pnGwM0)


การศึกษาด้านความปลอดภัยในมนุษย์พบว่า 
การรับประทานบอระเพ็ดขนาด 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง นานติดต่อกัน 8 สัปดาห์ มีผลทำให้ค่าเอนไซม์ในตับ (ALT และ AST) เพิ่มสูงขึ้น 

จึงควรระมัดระวังในการใช้เป็นระยะเวลานาน และไม่แนะนำให้ใช้ในผู้ที่มีประวัติป่วยเป็นโรคตับ








วันพุธที่ 4 มีนาคม พ.ศ. 2563

ผักเสี้ยนผี

ผักเสี้ยนผี

ชื่อสมุนไพร  ผักเสี้ยนผี
ชื่ออื่นๆ/ชื่อท้องถิ่น  ผักส้มเสี้ยน , ผักส้มเสี้ยนผี , ส้มเสี้ยนผี (ภาคเหนือ) , ผักเสี้ยนตัวเมีย (ภาคกลาง)
ชื่อวิทยาศาสตร์  Cleome viscosa Linn.
ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์  Cleome acutifolia Elmer,Polanisia icosandra (L.)Blume,Arivela viscosa (L.) Raf.,
ชื่อสามัญ  Stining cleome, Wild caia ,yellow cleome, tickweed
วงศ์   Cleomaceae




ถิ่นกำเนิดผักเสี้ยนผี

ผักเสี้ยนผี เป็นพรรณพืชที่ยังไม่มีการระบุถึงถิ่นกำเนิดที่แน่นอน แต่มีข้อมูลการกระจายพันธุ์ของพืชชนิดนี้ว่ามีการกระจายพันธุ์ในเขตร้อนและกึ่งร้อนของทวีปแอฟริกา อเมริกา และเอเชีย เช่นในประเทศ อินเดีย พม่า ไทย ลาว กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย รวมถึง จีน ญี่ปุ่น ไต้หวัน เนปาล และภูฎาน เป็นต้นส่วนในประเทศไทยจัดให้ผักเสี้ยนผีเป็นวัชพืชที่ขึ้นรบกวน ผลผลิตทางการเกษตรชนิดหนึ่ง ซึ่งสามารถพบได้ทั่วทุกภาคของประเทศ โดยมักพบตามที่รกร้างว่างเปล่า ตามริมถนนหนทาง ตามชายป่าทั่วๆไป รวมถึงพบในแปลงพืชผลทางการเกษตรต่างๆอีกด้วย


ประโยชน์/สรรพคุณผักเสี้ยนผี 

ผักเสี้ยนผีสามารถนำมาใช้เป็นอาหารได้โดยใช้ยอดอ่อน ดอกอ่อน ใบอ่อน มาดองเป็นผักจิ้มน้ำพริก หรือใช้เป็นเครื่องเคียงในขนมจีน , ส้มตำ ก็ได้ นอกจากนี้ยังสามารถนำมาใช้เป็นยาสมุนไพรได้อีกด้วย โดยในตำรายาไทยระบุถึงสรรพคุณของผักเสี้ยนผีว่า ทั้งต้น มีรสขมร้อน ช่วยเจริญไฟธาตุ แก้ปวดท้อง ท้องร่วง แก้ลม ลงท้อง แก้ฝีภายใน ทำให้หนองแห้ง แก้พิษฝี แก้ไข้ตรีโทษ ใช้ถ่ายพยาธิตัวกลม แก้โรคไขข้ออักเสบ ทาแก้โรคผิวหนัง หยอดหูแก้หูอักเสบ ใบ รสร้อนขม แก้ฝีในปอด ขับหนองฝี ขับน้ำเหลืองเสีย แก้ปัสสาวะพิการ ขับลมให้ลงสู่เบื้องต่ำ เป็นยาระบายอ่อนๆ ใช้พอกแก้ปวดศีรษะ แก้ปวดหลัง ดอก รสขมขื่นร้อน ใช้ฆ่าเชื้อโรค  ฆ่าพยาธิผิวหนัง ผล รสเมาร้อนขม ใช้ฆ่าพยาธิ ราก รสร้อนขม กระตุ้นหัวใจ แก้วัณโรค แก้โรคผอมแห้งของสตรี แก้เลือดออกตามไรฟัน เมล็ด รสร้อนขม ขับน้ำเหลืองเสีย กระตุ้นหัวใจ แก้เลือดออกตามไรฟัน ต้น รสขมร้อน กลิ่นฉุน ทำให้หนองแห้ง 

       นอกจากนี้ในบัญชียาสมุนไพร ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนาระบบยาแห่งชาติ ยังระบุถึงการใช้ผักเสี้ยนผีเป็นส่วนประกอบในตำรับ“ยาแก้ลมอัมพฤกษ์” ที่มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดตามเส้นเอ็น กล้ามเนื้อ มือ เท้า ตึงหรือชา อีกด้วย




ลักษณะทั่วไปผักเสี้ยนผี 

ผักเสี้ยนผี จัดเป็นพืชล้มลุก ลำต้นแตกกิ่งก้านสาขามาก มีขนปกคลุมตลอดทั้งลำต้นและกิ่งก้านยังมีเมือกเหนียวตามขนที่ขึ้นปกคลุม มีกลิ่นฉุนแรกโดยต้นของผักเสี้ยนผีสามารถสูงได้ถึง 1 เมตร ใบออกเป็นใบประกอบยื่นออกเป็นแฉก  มีใบย่อย 3 หรือ 5 ใบ เรียงเวียน ก้านใบยาว 0.5-6 เซนติเมตร ใบย่อยเป็นรูปไข่กลับ กว้าง 0.5-2 เซนติเมตร ยาว 2-5 เซนติเมตร ใบกลางมักจะใหญ่กว่าใบย่อยด้านข้าง ปลายแหลมมน โคนรูปลิ่ม ของใบเรียบหรือเป็นคลื่นเส้นน้อย  ดอก ออกเป็นช่อแบบกระจะออกตามเรือนยอดและปลายกิ่ง ดอกมีสีเหลือง มีกลีบเกลี้ยง 4 กลีบ เป็นรูปช้อน โคนสอบเรียว โดยกลีบดอกจะมีขนาด 0.5-1.5 เซนติเมตร ใน 1 ดอกจะมีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย ผลออกเป็นฝักรูปทรงกระบอก กว้าง 2-5 มิลลิเมตร ยาว 1-10 เซนติเมตร มีสันนูนๆขึ้นตามความยางของฝัก และมีขนขึ้นปกคลุมทั้งฝัก ปลายฝักมีจะงอยแหลมๆ ในฝักประกอบด้วยเมล็ดจำนวนมาก เมล็ดเป็นเมล็ดกลมแป้นขนาดเล็กมีเส้นผ่าศูนย์กลาง 1-2 มิลลิเมตร ผิวขรุขระ เมล็ดมีสีน้ำตาลแดง


การขยายพันธุ์ผักเสี้ยนผี

ผักเสี้ยนผีสามารถขยายพันธุ์ได้โดยการใช้เมล็ด โดยใช้เมล็ดแก่จัดที่มีสีดำมาตากให้แห้ง แล้วนำไปเป็นเมล็ดพันธุ์ โดยมีวิธีการปลูกดังนี้ เตรียมแปลงให้ให้มีความกว้าง 1-1.5 เมตร แล้วใช้ปุ๋ยคอกและปุ๋ยหมักคลุกเคล้าให้เข้ากัน แล้วจึงหว่านเมล็ดพันธุ์ผักเสี้ยนผีที่เตรียมไว้ให้ทั่วแปลงกลบด้วยดินบางๆ ใช้ฟางคลุมรดน้ำให้ชุ่มและเมื่อหลังจากการปลูก ประมาณ 1 อาทิตย์ ผักเสี้ยนผีจะเริ่มงอกขึ้นมา และเมื่อปลูกได้ประมาณ 120 วัน จึงสามารถเก็บเกี่ยวได้


องค์ประกอบทางเคมี

มีผลการศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของส่วนต่างๆ ของผักเสี้ยนผีระบุว่า  ดอกมีสารกลุ่ม flavonoid glycosides เช่น quercetin 3-O-(2”-acetyl)-glucoside เมล็ดมีสารกลุ่ม coumarinolignoids เช่น fraxetin , cleomiscosin A ,cleomiscosin B, Cleomiscosin D สารกลุ่ม dipyridodiazepinone ได้แก่ nevirapine สารกลุ่มไทรเทอร์พีน ได้แก่ lupeol beta-amyrin ส่วนใบพบสารกลุ่ม flavonol glycosides  และสารกลุ่ม bicyclic diterpene ได้แก่ cleomeolide ส่วนรากพบสารกลุ่ม flavonol ได้แก่ kaempleride-3- glucuronide  ส่วนทั้งต้น พบสารกลุ่ม flavone ได้แก่ naringenin glycoside สารกลุ่ม sterol ได้แก่ stigmasta-5,24(28)-diene-3b-O-a-Lrhamnoside สารกลุ่ม macrocyclic diterpene ได้แก่ cleomaledeic acid

          นอกจากนี้ผักเสี้ยนผี ยังมีน้ำมันระเหยง่าย ที่ประกอบด้วยสารกลุ่ม Monoterpenes  เช่น heptan-4-one   dehydrosabinene  6-methylhept-5-ene-2-one  myrcene  p-cymene  a-pinene  β-pinene รวมถึงสารกลุ่ม lipid เช่น behenic acid, linoleic acid, linolenic acid, myristic acid

                                                                  

ที่มา : Wikipedia


รูปแบบ/ขนาดวิธีใช้ 

ใช้แก้ลมลงท้อง ช่วยแก้ฝีภายใน แก้อักเสบต่างๆ แก้ท้องร่วง ช่วยเจริญไฟธาตุ โดยใช้ผักเสี้ยนผีแห้งทั้งต้น มาต้มกับน้ำดื่ม แก้ปวดศีรษะโดยใช้ต้นผักเสี้ยนผีสดทั้งต้นตำพอกศีรษะ แก้วัณโรค แก้โรคเลือดออกตามไรฟัน กระตุ้นหัวใจ โดยใช้รากแห้งมาต้มกับน้ำดื่ม เมล็ดแห้งใช้ต้มกับน้ำดื่มแก้น้ำเหลืองเสีย กระตุ้นหัวใจ แก้เลือดออกตามไรฟัน  แก้การหูอื้อ คันหู ใช้ใบผักเสี้ยนผีสดประมาณ 3-4 ใบนำมาขยี้พอช้ำ แล้วใช้อุดที่หู เมล็ดนำมาต้มหรือชงดื่ม


การศึกษาทางเภสัชวิทยา 

ฤทธิ์ต้านการอักเสบ   ศึกษาการเหนี่ยวนำสารในกระบวนการอักเสบของสารกลุ่ม coumarinolignoid จำนวน 3 ชนิด คือ cleomiscosins A, B,C ที่แยกได้จากเมล็ดผักเสี้ยนผี ในหนูถีบจักรสายพันธุ์ swiss albinoโดยการป้อนสารผสมของ coumarinolignoid A, B และ C ในขนาด 10, 30 และ 100 mg/kg วันละครั้ง เป็นระยะเวลา 14 วัน  ผลการวิจัยพบว่าสารทดสอบขนาด 10 mg/kg ออกฤทธิ์ได้ดีที่สุด ในการลดการแสดงออกของสารที่ทำให้เกิดการอักเสบเริ่มต้น ได้แก่ IL-6, TNF-αและ nitric oxide ได้ (ทดสอบโดยใช้ LPS เป็นสารกระตุ้นการอักเสบในเซลล์แมคโครฟาจของหนู) และสารทดสอบขนาด 10 mg/kg ออกฤทธิ์ดีที่สุด ในการเพิ่มการแสดงออกของสารที่มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ คือ IL-4  โดยหนูมีอัตราการตายลดต่ำลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ เมื่อทดสอบหลังได้รับสารทดสอบ 14 วัน ต่อเนื่อง แล้วจึงฉีด LPS ในขนาด 250 μg/kgแก่หนู บันทึกอัตราการตาย พบว่าสาร coumarinolignoidทำให้หนูตาย 1 ตัวจาก 6 ตัว คิดเป็น 16.66 % ส่วนหนูที่ได้รับ LPS แต่ไม่ได้รับสารสกัดพบว่าอัตราการตายเป็น 100 % 

ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ  มีศึกษาฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระในหลอดทดลอง ของสารสกัดใบผักเสี้ยนผี ด้วย petroleum ether, chloroform, methanol และ water จากการศึกษาพบว่าสารสกัดผักเสี้ยนผีใน petroleum ether และ chloroform ไม่มีฤทธิ์ในการต้านอนุมูลอิสระ ในขณะที่สารสกัด methanol แสดงฤทธิ์ยับยั้งอนุมูลอิสระ 2,2-diphenyl-1-picrylhydrazyl scavenging (DPPH) โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 56.39 μg/ml และจับอนุมูลซูเปอร์ออกไซด์ (superoxide scavenging activity) โดยมีค่า IC50 เท่ากับ 919.70 μg/ml

ฤทธิ์ต้านอาการท้องเสีย เมื่อนำสารสกัดเมทานอลของผักเสี้ยนผีทั้งต้น ไปทดสอบในหนูขาว พบว่ามีฤทธิ์ต้านการบีบตัว และขับเคลื่อนของเสียออกจากร่างกายอย่างแรง

ฤทธิ์สมานแผล มีศึกษาฤทธิ์สมานแผล ในหนูถีบจักรเพศผู้ สายพันธุ์ swiss albino โดยทาสารสกัดใบผักเสี้ยนผีที่สกัดด้วยเมทานอล (2.5 % w/w) และยามาตรฐาน gentamicin sulfate ในรูปแบบ hydrogel ให้หนูแต่ละกลุ่ม พบว่าสามารถเพิ่มความสามารถในการทำให้แผลติดกันได้อย่างมีนัยสำคัญ 75.30 % และ 78.74 % ตามลำดับ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม โดยดูผลหลังจากผ่านไป 12 วัน จากการตรวจสภาพผิวหนัง พบว่ามีการเพิ่มขึ้นของเซลล์เยื่อบุผิวหนัง (fibroblast) และเซลล์รากขน (hair follicle)

ฤทธิ์แก้ไข้ ศึกษาฤทธิ์แก้ไข้ของสารสกัดทั้งต้นผักเสี้ยนผี ด้วย 90%เมทานอล โดยใช้ยีสต์กระตุ้นให้เกิดไข้ ในหนูขาวสายพันธุ์วิสตาร์ ด้วยวิธีฉีดเข้าทางช่องท้อง หลังจากนั้นจึงให้สารสกัดผักเสี้ยนผีแก่หนู ผลการศึกษาโดยการวัดอุณหภมิหนูทางทวารหนัก พบว่าสารสกัดผักเสี้ยนผีขนาด 200, 300 และ 400 mg/kg สามารถลดไข้ในหนูได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ และมีผลลดไข้ได้เป็นเวลา 5 ชั่วโมง ภายหลังจากการได้รับสารสกัด โดยเปรียบเทียบกับยามาตรฐาน paracetamol ในขนาด 150 mg/kg

ฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย มีการศึกษาฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรียพบว่า สารสกัดเอทานนอลของใบและดอกมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย  Escherichia coli, Proteus vulgaris, Pseudomonas aeruginosa ส่วนสารเคอร์ซิทิน 3-โอ.(2”-แอซิทิล)-กลูโคไซด์ ที่สกัดจากดอกมีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย Staphylococcus aureus และ Escherichia coli ขณะที่สารสกัดเมทานอลองใบมีฤทธิ์ยับยั้งเชื้อแบคทีเรีย  Helicobacter pylori

ฤทธิ์กดภูมิคุ้มกันและต้านการแพ้  มีศึกษาฤทธิ์ในระบบภูมิคุ้มกันของส่วนเหนือดินของผักเสี้ยนผี ในหนูถีบจักร โดยให้สารสกัดน้ำ และเอทานอล แก่หนูแต่ละกลุ่ม ในขนาดต่าง ๆ คือ 50, 100, 150 mg/kgโดยการฉีดเข้าช่องท้อง เป็นเวลา 7 วัน จากการทดลองพบว่าสารสกัดจากผักเสี้ยนผีมีฤทธิ์กดภูมิคุ้มกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ โดยทำให้จำนวนของเม็ดเลือดขาวลดลง  จำนวน lymphocyte ในม้ามลดลง ขบวนการกลืนกินเชื้อโรคแบบ phagocyticลดลง และลดการตอบสนองของ antibody โดยสารสกัดเอทานอล ขนาด 150 mg/kgออกฤทธิ์ดีที่สุด การทดสอบภาวะภูมิไวเกิน (ภูมิแพ้) ชนิด Delayed  hypersensitivity  หรือภาวะภูมิไวเกินที่เกิดอาการของโรคภายหลังได้รับแอนติเจนเป็นเวลา 24 ชั่วโมง พบว่าสารสกัดทั้ง 2 ชนิด สามารถลดการแพ้ได้ โดยลดการบวมที่อุ้งเท้าหนูถีบจักรได้ โดยมีการบวมในกลุ่มควบคุมเท่ากับ 34±0.9% ส่วนสารสกัดเอทานอลและน้ำ มีการบวมคิดเป็น 15.±0.4%, 25.6±0.4%  ตามลำดับ ซึ่งแสดงถึงการลดการแพ้ในภาวะภูมิไวเกินได้มากกว่ากลุ่มควบคุม


การศึกษาทางเภสัชวิทยา 

ไม่มีข้อมูล


ข้อแนะนำ/ข้อควรระวัง

ในการใช้ผักเสี้ยนผีเป็นสมุนไพรควรระมัดระวังในการใช้เช่นเดียวกันกับการใช้สมุนไพรชนิดอื่นๆ โดยการใช้ในปริมาณที่เหมาะสมตามที่ระบุไว้ในตำรับตำรายาต่างๆ และไม่ควรใช้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานานจนเกินไปเพราะอาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพได้ เด็ก สตรีมีครรภ์ ผู้ป่วยโรคเรื้อรัง รวมถึงผู้ที่ต้องรับประทานยาต่อเนื่อง ก่อนจะใช้ผักเสี้ยนผีเป็นยาสมุนไพรควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้เสมอ



เอกสารอ้างอิง

ฤทธิ์ต้านอาการท้องเสียของผักเสี้ยนผี.ข่าวความเคลื่อนไหวสมุนไพร.สำนักงานข้อมูลสมุนไพรคณะเภสัชศาสตร์มหิดล.
กัญจน์นิกา  เกิดแก้ว , ฑิฆัมพร พันหุ่น , อรรณรัตน์ สันฐิติกวินสกุล.การตรวจสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ.ปริมาณฟีนอสิกรวม แลปริมาณฟลาโวนอยด์รวมของสารสกัดจากส่วนลำต้นเหนือดินของผักเสี้ยนผี.เอกสารประกอบการประชุมวิชาการต่อชาติ ครั้งที่10 มหาวิทยาลัยราชภัฎนครปฐม 29-30มีนามา2561
ผักเสี้ยนผี.ฐานข้อมูลเครื่องยา คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี(ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=175
Devi BP, Boominathan R, Mandal SC. Evaluation of antipyretic potential of Cleome viscosa L. (Capparidaceae) extract in rats. J Ethnopharmacology. 2003;87:11-13.
Srivastava, S.K., J.S. Chauhan and S.D. Srivastava. 1979. A new naringenin glycoside from Cleome viscosa. Phytochemistry 18: 2057-2058
Chayamarit, K. (1991). Capparaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(3): 262-266.
Chauhan, J.S., S.K. Srivastava and S.D. Srivastava. 1979. Kaempferide-3-glucuronide from the roots of Cleome viscosa. Phytochemistry 18:691.
Upadhyay A, Chattopadhyay P, Goyary D, Mazumder PM, Veer V. In vitro fibroblast growth stimulatory and in vivo wound healing activity of Cleome viscosa. Orient Pharm Exp Med. 2014;14: 269-278.
Jente, R., J. Jakupovic and G.A. Olatunji.1990. A cembranoid diterpene from Cleome viscosa. Phytochemistry29:666-667.
Bawankule DU, Chattopadhyay SK, Pal A, Saxena K, Yadav S, Faridi U, et al. Modulation of inflammatory mediators by coumarinolignoids from Cleome viscosa in female swiss albino mice. Inflammopharmacology. 2008;16:1-6.
Zhang, M. and G.C. Tucker. (2008). Cleomaceae. In Flora of China Vol. 7: 429-432.
Chattopadhyay, S.K., A. Chatterjee, S. Tandon, P.R. Maulik and R. Kant. 2011. Isolation of optically active nevirapine, a dipyridodiazepinone metabolite from the seeds of Cleome viscosa. Tetrahedron 67:452-454
Tiwari U, Rastogi B, Thakur S, Jain S, Jain NK, Saraf DK. Studies on the immunomodulatory effects of Cleome viscosa. IndianJ Pharm Sci. 2004;66(2): 171-176.
Burke, B.A., W.R. Chan and V.A. Honkan.1980. The structure of cleomeolide, an unusual bicyclic diterpene form Cleome viscosa L. (Capparaceae). Tetrahedron36: 3489-3493.
Chatterjee, A., S.K. Chattopadhyay, S. Tandon, R. Kaur, A.K. Gupta, P.R. Maulik and R. Kant. 2013. Isolation of a unique dipyridodiazepinone metabolite nevirapine during large scale extraction of Cliv-92 from the seeds of Cleome viscosa. Industrial Crops and Products 45: 395-400
Phan, N.M., T.P. Nguyen, T.D. Le, T.C. Mai, M.T. Phong and D.T. Mai. 2016. Two new flavonol glycosides from the leaves of Cleome viscosaL. Phytochemistry Letters 18:10-13.

ฟ้าทะลายโจร งานวิจัยและสรรพคุณ 18ข้อ

ฟ้าทะลายโจร งานวิจัยและสรรพคุณ 18ข้อ
สั่งซื้อ แบบบดหรือแคปซูล โทร+ไลน์ 0809898770
(ตอนนี้มันแพงโลละ 500 บาท ค่าส่ง 50บาท โอนเงินก่อน ตอนปกติมัน 380บาทรวมส่งเท่านั้นเอง)



ชื่อสมุนไพร ฟ้าทะลายโจร
ชื่ออื่นๆ/ชื่อท้องถิ่น น้ำลายพังพอน , ขุนโจรห้าร้อย (ภาคกลาง,กรุงเทพ), สามสิบดี (ร้อยเอ็ด) , ฟ้าสาง (สกลนคร) , เขยตายายคลุม (ราชบุรี) , หญ้ากันงู (สงขลา) , ฟ้าสะท้าน (พัทลุง) , เมฆทะลาย (ยะลา) ,ชวนซิน ,เจ๊กเกี้ยงฮี้ , โขว่เซ่า , ซีปังฮี (จีน)
ชื่อสามัญ Kariyat, Creat, Herba  Andrographis, Indian Echinace
ชื่อวิทยาศาสตร์  Andrographis paniculata (Burm. f .) Nees
ชื่อพ้องวิทยาศาสตร์  Andrographis paniculata (Burm.f.) Nees
วงศ์  Acanthaceae



ถิ่นกำเนิดฟ้าทะลายโจร
ฟ้าทะลายโจรเป็นไม้ล้มลุกในตระกูลเดียวกับโหระพาหรือกระเพรา มีถิ่นกำเนิด และพบแพร่กระจายตามประเทศต่างๆในทวีปเอเซีย ซึ่งจัดเป็นสมุนไพรท้องถิ่นในประเทศแถบเอเชียรวมถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น อินเดีย จีน ศรีลังกา ไทย และยังใช้กันอย่างแพร่หลายในหลายประเทศทั่วทวีปเอเชีย โดยนิยมนำส่วนของใบและลำต้นใต้ดินมาทำเป็นยารักษาโรค โดยเป็นพืชล้มลุกที่มีรสขมจัด จนขึ้นชื่อว่าเป็นจ้าวแห่งความขม “King of the Bitterness”  ในปัจจุบันสามารถพบฟ้าทะลายโจรได้ทั่วไปในประเทศไทย ลาว กัมพูชา มาเลเซีย อินโดนีเซีย เวียดนาม จีน อินเดีย ศรีลังกา และหมู่เกาะในทะเลแคริบเบียนส่วนในประเทศไทยนั้นสามารถพบได้ทุกภาคของประเทศ และยังเป็นสมุนไพรที่กำลังได้รับความนิยมในการนำมาใช้ประโยชน์ในการรักษาโรคอีกด้วย



ประโยชน์และสรรพคุณฟ้าทะลายโจร 
ใช้ดับร้อน  แก้พิษ
รักษาไข้ ไข้หวัด ไข้หวัดใหญ่
ระงับอักเสบในอาการไอ เจ็บคอ คออักเสบ ต่อมทอนซิล หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ
แก้กระเพาะอาหารอักเสบ ลำไส้อักเสบ
รักษาโรคผิวหนัง ฝี
ช่วยทำให้เจริญอาหาร
ลดความดันโลหิต
รักษาอาการคางทูม หูชั้นกลางหรือปากอักเสบ
ช่วยกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันของร่างกายให้ทำงานดีขึ้น
ช่วยบรรเทาอาการจากโรคหวัดสำหรับผู้ป่วยที่มีอาการไม่รุนแรง
ช่วยต้านอนุมูลอิสระ
ลดการแข็งตัวของเลือด
ช่วยรักษาหรือบรรเทาอาการติดเชื้อในทางเดินหายใจ
รักษาโรคข้อรูมาตอยด์
รักษาโรคภูมิต้านตนเองหรือแพ้ภูมิตนเอง
ช่วยแก้อาการปวดหัวตัวร้อน
ช่วยลดการติดเชื้ออหิวาตกโรคในอุจจาระ
ช่วยยับยั้งเชื้อแบคทีเรียที่เป็นสาเหตุของการเกิดหนอง

รูปแบบ/ขนาดวิธีใช้ฟ้าทะลายโจร

แก้บิดจากแบคทีเรีย (บิดไม่มีตัว หรือบิดชิเกลล่า) ลำไส้อักเสบ ใช้ใบสด 10-15 กรัม ต้มน้ำผสมน้ำผึ้งกิน
แก้บิดจากแบคทีเรียอย่างเฉียบพลัน ลำไส้อักเสบ กระเพาะอักเสบ ใช้ต้นแห้ง 10-15 กรัม ต้มน้ำ กินวันละชุด แบ่งกินเป็น 2 ครั้ง เช้า-เย็น
แก้หวัด มีไข้ ปวดหัว ท้องเสีย ใช้ต้นแห้งบดเป็นผง ผสมน้ำสุก กินครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง
แก้ไข้หวัดใหญ่ ปอดอักเสบ ใช้ต้นแห้งบดเป็นผงผสมน้ำสุก กินครั้งละ 3 กรัม วันละ 3-4 ครั้ง
แก้หลอดลมอักเสบ ปอดอักเสบ ใช้ใบแห้ง 10 กรัม ต้มน้ำกิน
แก้วัณโรคปอดในระยะเริ่มแรก ใช้ใบแห้งบกเป็นผงผสมน้ำผึ้งปั้นเป็นเม็ดขนาดเมล็ดถั่วเหลือง กินครั้งละ 15-30 เม็ด วันละ 2-3 ครั้ง กับน้ำสุก ใช้ต้นแห้ง 15 กรัม ใบจับไต่กงเล้า (Mahonia bealei (Fort) Carr) 15 กรัม เถาฮงเสี่ยโกยฮ๊วย (Milletia reticulate Benth) 30 กรัม ต้มน้ำ แบ่งให้กินเป็น 2 ครั้ง วันละ 1 ชุด ติดต่อกัน 15-30 วัน เป็น 1 รอบ ของการรักษา
แก้ไอกรน ใช้ใบ 3 ใบ ชงน้ำ ผสมน้ำผึ้งกินวันละ 3 ครั้ง
แก้ความดันโลหิตสูง จนมีอาการปรากฏให้เห็น ใช้ใบ 5-7 ใบ ชงน้ำกินวันละหลายๆ ครั้ง
แก้ปากอักเสบ ต่อมทอนซิลอักเสบ ใช้ใบแห้งบดเป็นผงหนัก 3-5 กรัม ผสมน้ำผึ้งกินร่วมกับน้ำ
แก้คออักเสบ ใช้ต้นสดเคี้ยวกลืนช้าๆ ให้ฆ่าเชื้อที่บริเวณลำคอ
แก้ไส้ติ่งอักเสบ ใช้ต้นแห้ง 25 กรัม กับดอกเบญจมาศสวน (Chrysanthemum indicum L.) 30 กรัม ต้มน้ำกินวันละ 2 ชุด
แก้จมูกอักเสบ หูชั้นกลางอักเสบ ปอดฟัน ใช้ต้นแห้ง 10-15 กรัม ต้มน้ำกินหรือใช้ต้นสดตำคั้นเอาน้ำหยอดหูอีกด้วย
แก้โรคหนองใน ทางเดินปัสสาวะอักเสบ ใช้ใบสด 10-15 ใบ ตำผสมน้ำผึ้งชงน้ำกิน
แก้บาดแผลไฟไหม้ น้ำร้อนลวก ใช้ใบแห้งบดเป็นผงละเอียดผสมน้ำมันพืชทา หรือใช้ใบสดต้ม เอาน้ำที่ต้มเย็นแล้วมาชะล้างบาดแผล
แก้พิษงูกัด ใช้ใบสดตำ เอาไปอังเหนือควันไฟจนติดน้ำมันจากควันไฟ เอามาพอกที่ปากแผล หรือใช้ใบแห้ง 10-15 กรัม ต้มน้ำกิน ใช้ต้นสด 30 กรัม ร่วมกับ Paris polyphylla 10 กรัม ฮั่งชิ้งเช่า (Scutellaria indica L.) เลือกเอาแบบใบแคบ 30 กรัม จั่วจิเช่า ชนิดดอกขาว (Oldenlandia diffusa Roxb) 30 กรัม ต้มน้ำกินวันละ 1-2 ชุด
แก้ผด ผื่นคัน ใช้ผงยานี้ 30 กรัม ผสมน้ำมันพืชลงไป จนมีปริมาตร 100 ม.ล. ใช้ทาบริเวณที่เป็น
การใช้ตามคำแนะนำของกระทรวงสาธารณสุข (สาธารณสุขมูลฐาน)

ใช้ฟ้าทะลายโจรรักษาอาการท้องเสีย โดยใช้แคปซูลของผงใบฟ้าทะลายโจรขนาด 250 มิลลิกรัม จำนวน 2 แคปซูล รับประทาน 4 ครั้งต่อวัน

ใช้ฟ้าทะลายโจรรักษาอาการไอและเจ็บคอ โดยนำใบฟ้าทะลายโจรสดตากแห้งในร่ม บดเป็นผงละเอียด นำมาปั้นเป็นยาลูกกลอน ขนาดปลายนิ้วก้อย ผึ่งลมให้แห้ง รับประทาน 3-6 เม็ด วันละ 4 ครั้ง 3 เวลา หลังอาหารและก่อนนอน หรือใช้แคปซูลของผงใบฟ้าทะลายโจร ขนาด 250 มิลลิกรัม จำนวน 2 แคปซูล รับประทานวันละ 4 ครั้งหลังอาหารและก่อนนอน

ใช้ฟ้าทะลายโจรรักษาฝี โดยนำใบค่อนข้างแก่ประมาณ 1 กำมือ แล้วเอาเกลือ 3 เม็ด ใส่ผสมตำรวมกันในครกพอละเอียดดี เอาสุราครึ่งถ้วยชา น้ำครึ่งช้อนชา ใส่รวมลงไปคนให้เข้ากันดีเทน้ำกินค่อนถ้วยชา กากที่เหลือพอกแผลฝี แล้วเอาผ้าสะอาดพันไว้ พอกใหม่ๆจะรู้สึกปวดนิดหน่อย

ยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ ยาแคปซูล ยาเม็ด ที่มีผงฟ้าทะลายโจรแห้ง 250 มิลลิกรัม และ 500 มิลลิกรัม บรรเทาอาการท้องเสียไม่ติดเชื้อ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม – 2 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหาร บรรเทาอาการเจ็บคอ รับประทานวันละ 3 – 6 กรัม แบ่งให้วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน บรรเทาอาการหวัด รับประทานวันละ 1.5 – 3 กรัม แบ่งให้วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน  การใช้เพื่อรักษาหรือบรรเทาโรคอื่น หรือใช้บำรุงร่างกาย ควรต้มน้ำดื่มหรือรับประทาน 1-3 กรัม หลังอาหาร 1-7 วัน และควรเว้นระยะการกิน 3-4 วัน เพื่อลดผลที่อาจเกิดจากการสะสมของสารหรือได้รับสารในปริมาณมากในร่างกาย






ลักษณะทั่วไปฟ้าทะลายโจร
ฟ้าทะลายโจรเป็นไม้พุ่มเตี้ยสูง 40-80 ซ.ม. ลำต้นลักษณะสี่เหลี่ยม แตกกิ่งก้านสาขามาก ทั้งต้นมีรสขมมาก ใบออกตรงข้ามกัน ตัวใบยาวรีปลายใบเรียวแหลม ยาว 2-8 ซ.ม. กว้าง 1-3 ซ.ม. ขอบใบมีรอยหยักเล็กน้อยเกือบเรียบ ก้านใบสั้นจนแทบจะเรียกว่า ไม่มีก้านใบ ดอกออกจากซอกใบหรือที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงมีสีเขียว ยาวประมาณ 3 ม.ม. ส่วนโคนติดกันปลายแยกเป็น 5 กลีบเรียวแหลมกลีบดอกติดกันเป็นหลอดสีขาว ปลายแยกเป็น 2 ซีกใหญ่ๆ คล้ายปาก ซีกบนขนาดใหญ่กว่าซีกล่าง

ส่วนปลายยังแบ่งเป็นกลีบเล็กๆ 3 กลีบ มีรอยกระสีม่วง ซีกล่างมีขนาดเล็ก ส่วนปลายมีรอยแยกเป็น 2 กลีบสีขาว เกสรตัวผู้มี 2 อัน ติดกับกลีบดอก ก้านเกสรเป็นเส้นสีขาวบางๆ ยื่นออกมา 2 เส้น มีขนนุ่มๆ ปกคลุมอยู่ ปลายมีอับเรณูสีม่วงดำ ก้านเกสรตัวเมียเป็นเส้นยาวๆ บางๆ สีแดงอมาแตะที่อับเรณูของเกสรตัวผู้ รังไข่มี 1 อัน ผลเป็นฝักทรงกระบอกแบนมีร่องลึกตรงกลางด้านแบบทั้งสองด้าน ฝักยาวประมาณ 1.5 ซ.ม. กว้าง 0.5 ซ.ม. ฝักแก่แล้วแตกตามรอยข้าง ฝักแบ่งเป็น 2 ซีก โดยมีร่องลึกนั้นอยู่ที่ซีกละร่อง เมล็ดสีส้มแดงแข็ง ดูค่อนข้างโปร่งแสง ฝักหนึ่งมีเมล็ดหลายเมล็ด


การขยายพันธุ์ฟ้าทะลายโจร
เป็นพืชล้มลุกนานหลายปี สามารถพบเห็นได้ตามพื้นที่ทั่วไป เป็นพืชที่เติบโตได้ดีในทุกสภาพดิน ชอบดินร่วน ดินมีความชื้น สามารถเติบโตในพื้นที่ที่มีวัชพืชขึ้นหนาได้ดี พบมากทั้งในที่โล่งแจ้งหรือแสงแดดรำไรการขยายพันธุ์ฟ้าทะลายโจรนิยม ขยายพันธุ์ด้วยการเพาะเมล็ด เมล็ดที่ใช้ควรเป็นเมล็ดแก่ที่มีลักษณะสีดำ โดยการหว่านในแปลงดินหรือพื้นที่ว่างทั่วไป รวมถึงการหยอดเมล็ดในกระถาง เมล็ดจะงอกภายใน 1-2 อาทิตย์ ฟ้าทะลายโจรหลังเมล็ดงอกแล้วไม่ต้องการการดูแลมากเหมือนพืชทั่วไป เนื่องจากไม่มีโรคหรือแมลงคอยทำลายมากนัก เพียงคอยกำจัดวัชพืชรอบลำต้นก็สามารถเติบโตได้ดี และไม่ต้องใช้ปุ๋ยเคมีแต่อย่างใด แต่ควรคอยให้ปุ๋ยคอก ปุ๋ยหมัก และพรวนดินให้ร่วนซุยสม่ำเสมอ สำหรับการเก็บเกี่ยวควรเก็บเกี่ยวในช่วงที่พืชออกดอกนับตั้งแต่เริ่มออกดอกจนถึงดอกบานร้อยละ 50 เพื่อให้มีปริมาณสารสำคัญสูง ซึ่งพืชจะมีอายุประมาณ 110-150 วัน


องค์ประกอบทางเคมี 
ส่วนเหนือดินฟ้าทะลายโจร มีสารสำคัญจำพวกไดเทอร์พีนแล็กโทน (diterpene lactones) หลายชนิด ได้แก่ แอนโดรกราโฟไลด์ (andrographolide) นีโอแอนโดร-กราโฟไลด์ (neoandrographolide) ดีออกซีแอนโดร-กราโฟไลด์ (deoxyandrographolide) ดีออกซีไดดีไฮโดรแอนโดรกราโฟไลด์ (deoxy-didehydro andrographolide) ทั้งนี้วัตถุดิบฟ้าทะลายโจรที่ดีควรมีปริมาณแล็กโทนรวมคำนวณเป็นแอนโดรกราโฟไลด์ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 6 และไม่ควรเก็บวัตถุดิบไว้ใช้นานๆ เพราะปริมาณสารสำคัญจะลดประมาณร้อยละ 25 เมื่อเก็บไว้ 1 ปี รวมถึงยังมีสารกลุ่มฟลาโวน เช่น aroxylin, wagonin, andrographidine A,paniculide A ,paniculide B , paniculide C , andrographolide , neoandrographolide , deoxyandrographolide-19-B-D-glucopyranoside , deoxyandrographolide , caffeic acid (3, 4- dihydroxy-cinnamicacid) , chlorogenic acid, 3, 5-dicaffeoyl-d-quinic acid , Ninandrographolide

รูปภาพองค์ประกอบทางเคมีของฟ้าทะลายโจร

ฟ้าทะลายโจร                                                       

การศึกษาทางเภสัชวิทยา
ฤทธิ์ลดไข้ เมื่อป้อนส่วนสกัด 85% เอทานอลจากส่วนเหนือดิน ขนาด 2.5 ก./กก. แก่กระต่ายที่ถูกฉีดวัคซีนไทฟอยด์เข้าใต้ผิวหนังเพื่อให้เป็นไข้ พบว่าไข้ลดลง เช่นเดียวกับเมื่อป้อนสารสกัด 95% เอทานอล ขนาด 2 และ 4 มล./กก. แก่หนูขาว albino ที่ถูกฉีดเชื้อยีสต์เข้าใต้ผิวหนังขนาด 300 มก./กก. เพื่อให้เป็นไข้ พบว่าไข้จะลดลงหลังจากที่ได้รับสารสกัด 180 และ 270 นาที และมีความสามารถในการลดไข้เท่ากับยาลดไข้แอสไพริน แต่สารสกัดดังกล่าวไม่สามารถลดไข้หนูขาวที่เป็นไข้เนื่องจากถูกฉีดเชื้อยีสต์ขนาด 600 มก./กก. ส่วนสกัดน้ำ หรือ 50% เอทานอลจากส่วนเหนือดิน เมื่อให้ทางปากกระต่าย ขนาดสูงสุด 5 ก./กก. ไม่สามารถลดไข้กระต่ายที่ถูกทำให้เป็นไข้โดยการฉีดวัคซีนไทฟอยด์เข้าใต้ผิวหนัง  Madav S, et al. พบว่า andrographolide ขนาด 100 มก./กก. ให้ทางสายยางลงสู่กระเพาะอาหารหนูถีบจักร สามารถลดไข้หนูที่ถูกทำให้เป็นไข้โดย Brewer’s yeast

         ส่วนการศึกษาทางคลินิกในผู้ป่วยอายุมากกว่า 12 ปี จำนวน 152 คน มีอาการเป็นไข้ และเจ็บคอ มารับการรักษาที่โรงพยาบาลชุมชน 6 แห่ง และองค์การเภสัชกรรม แบ่งเป็นกลุ่มแบบสุ่มให้ได้รับยาพาราเซตามอล จำนวน 53 คน  แคปซูลฟ้าทะลายโจรขนาด 3 ก./วัน จำนวน 48 คน ขนาด 6 ก./วัน จำนวน 51 คน กินติดต่อกันนาน 7 วัน พบว่าในวันที่ 3 ของการรักษาผู้ป่วยกลุ่มที่ได้รับพาราเซตามอลหรือแคปซูลฟ้าทะลายโจร ขนาด 6 ก./วัน อาการไข้และอาการเจ็บคอจะหายไปมากกว่ากลุ่มที่ได้รับฟ้าทะลายโจรขนาด 3 ก./วัน แต่ผลการรักษาไม่มีความแตกต่างกันในวันที่ 7 ของการรักษา

ฤทธิ์ลดการอักเสบ เมื่อป้อนส่วนสกัดเอทานอล (85%) จากส่วนเหนือดิน ขนาด 2 ก./กก. แก่หนูขาว พบว่าสามารถลดอาการบวมของอุ้งเท้าหนูที่ถูกทำให้อักเสบโดย carrageenan และฉีดส่วนสกัดน้ำ ส่วนสกัดเอทานอล (50%) และส่วนสกัดเอทานอล (85%) จากส่วนเหนือดินเข้าช่องท้องหนูขาว ขนาด 0.5-2.5, 0.06-0.25 และ 1-2 ก./กก. ตามลำดับ จะสามารถลดอาการบวมของอุ้งเท้าหนูได้ แต่ถ้าป้อนส่วนสกัดน้ำ และส่วนสกัดเอทานอล (50%) จากส่วนเหนือดิน ขนาด 0.125-2 ก./กก. ไม่มีฤทธิ์ลดการอักเสบของอุ้งเท้าหนู

          เมื่อให้ผงใบฟ้าทะลายโจร 500 มก./กก. สารสกัดอัลกอฮอล์จากใบ ขนาด 200 และ 500 มก./กก.  และสารสกัดน้ำจากใบ ขนาด 500 มก./กก. แก่หนูขาว พบว่าสามารถยับยั้งอาการบวมของอุ้งเท้าหนูที่ถูกเหนี่ยวนำให้อักเสบโดย carrageenan ได้เท่ากับ 54.97, 38.01, 53.22 และ 41.23% ตามลำดับ และมีฤทธิ์ใกล้เคียงกับยาต้านการอักเสบ prednisolone ขนาด 5 มก./กก., indomethacin ขนาด 5 มก./กก. และ ibuprofen ขนาด 10 มก./กก. เมื่อให้ผงใบฟ้าทะลายโจร สารสกัดอัลกอฮอล์ และสารสกัดน้ำจากใบ ขนาด 500 มก./กก. จะยับยั้งการเคลื่อนที่ของเซลล์เม็ดเลือดขาวในหนูขาวที่ถูกฝังสำลีเข้าที่บริเวณหน้าท้อง เท่ากับ 40.67, 45.63 และ 35.25% ตามลำดับ และมีฤทธิ์ใกล้เคียงกับยาต้านการอักเสบ prednisolone และ ibuprofen  และเมื่อให้ผงใบฟ้าทะลายโจร สารสกัดอัลกอฮอล์ และสารสกัดน้ำจากใบ ขนาด 200 และ 500 มก./กก. เท่ากันทั้ง 3 รูปแบบ สามารถยับยั้งการเกิด granuloma ในหนูขาวที่ถูกฝังสำลีเข้าที่บริเวณหน้าท้องทิ้งไว้ 5 วัน เท่ากับ 11.86 และ 19.85%, 15.15 และ 22.78%, 11.76 และ 15.89% ตามลำดับ และมีฤทธิ์ใกล้เคียงกับยาต้านการอักเสบ ibuprofen ผงใบฟ้าทะลายโจรและสารสกัดอัลกอฮอล์มีฤทธิ์ลดการอักเสบมากที่สุด

          สาร andrographolide จากฟ้าทะลายโจรสามารถยับยั้งกระบวนการอักเสบได้ เมื่อป้อนให้หนูขาวในขนาด 30, 100 และ 300 มก./กก. สามารถลดอาการบวมของอุ้งเท้าหนูขาวที่ถูกทำให้อักเสบโดย carrageenan, kaolin และ nystatin ยับยั้งการเกิด granuloma ในหนูขาวที่ถูกฝังสำลีไว้ที่หน้าท้อง และลดบวมใน adjuvant ซึ่งจะทำให้เกิดข้ออักเสบ andrographolide ขนาด 300 มก./กก. จะยับยั้งการรั่วซึมของ acetic acid ซึ่งจะทำให้เกิด vascular permeability andrographolide ขนาด 20 มคก./มล. จะลดการผลิต a-tumor necrosing factor (ซึ่งเป็น cytokine ที่อยู่ในกระบวนการทำให้เกิดการอักเสบ) ของเม็ดเลือดขาวโมโนซัยท์ ที่ถูกกระตุ้นโดย lipopolysaccharide และเพิ่มการผลิต interleukin-1-b และ interleukin-6 เล็กน้อย ลดการสร้าง a-tumor necrosing factor ในเม็ดเลือดแดงของอาสาสมัครสุขภาพดีที่ถูกกระตุ้นด้วย lipopolysaccharide ได้มากกว่า 96% แต่ไม่มีผลยับยั้ง interleukin-1-b และ interleukin-6 สาร andrographolide ขนาด 0.1-10 ไมโครโมล ป้องกันการยึดติดและเคลื่อนย้าย (adhesion and transmigration)ของเม็ดเลือดขาวนิวโตรฟิลที่ถูกเหนี่ยวนำโดย -formyl-methionyl-leucyl-phenylalanine (fMLP) โดยผ่านกระบวนการที่ andrographolide จะไปลดการแสดงออก (up-expression) ของ CD11b และ CD18 และไปแย่ง fMLP จับกับ phorbol-12-myristate-13-acetate (PMA) ซึ่งเป็นตัวกระตุ้น protein kinase C ที่จะไปกระตุ้นให้เกิดการสร้าง ROS (reactive oxygen species)  ส่วนสกัดจากสารสกัดฟ้าทะลายโจร (ไม่ระบุชนิดของสารสกัดและส่วนที่ใช้) ความเข้มข้น 100 มค.ก./มล. จะยับยั้งสารที่เกี่ยวข้องกับกระบวนการเกิดการอักเสบ โดยไปยับยั้ง platelet activating factor (PAF) 82±3% และยับยั้ง fMLP 79±4%  ซึ่งเป็นสารที่ไปกระตุ้น neutrophil granulocyte ให้ผลิตสารที่จะไปทำให้เกิดการอักเสบ นอกจากนั้นสามารถยับยั้ง neutrophil ในการผลิต elastase ซึ่งเป็นสารที่ทำให้เกิดการอักเสบได้ 73±4%   สาร andrographolide ขนาด 1-100 ไมโครโมล จะยับยั้งการผลิต NO ในเซลล์ RAW 264.7 ที่ถูกกระตุ้นโดย lipopolysaccharide และ g-interferon ขนาดของสารที่สามารถยับยั้งได้ 50% เท่ากับ 17.4±1.1 ไมโครโมล  นอกจากนี้ยังลด inducible NO synthase protein (iNOS protein) และลดความคงตัวของโปรตีนโดยผ่านกระบวนการ post-transcription และสารสกัดเมทานอลจากใบมีฤทธิ์ลดการสร้าง nitric oxide ของ macrophage ที่ถูกกระตุ้นด้วย lipopolysaccharide โดยสาร andrographolide และ neoandrographolide ซึ่งเป็นสารออกฤทธิ์ จะมีฤทธิ์ยับยั้งการสร้าง nitric oxide ที่ความเข้มข้น 0.1-100 ไมโครโมล และความเข้มข้นที่สามารถยับยั้งการสร้าง nitric oxide 50% เท่ากับ 7.9 และ 35.5 ไมโครโมล ตามลำดับ ผลในการออกฤทธิ์ขึ้นอยู่กับความเข้มข้นของสาร เมื่อให้สัตว์ทดลองที่ถูกกระตุ้นด้วย lipopolysaccharide กิน neoandrographolide ขนาด 5 และ 25 มก./กก./วัน จะยับยั้งการสร้าง nitric oxide 35 และ 40% ตามลำดับ ส่วน andrographolide เมื่อให้ทางปาก ไม่มีฤทธิ์ดังกล่าว (3)  นอกจากนี้ยังมีการวิจัยพบว่าสาร deoxyandrographolide, didehydrodeoxyandrographolide และ neoandrographolide มีฤทธิ์ลดการอักเสบเช่นกัน

          การศึกษาทางคลินิกในผู้ป่วยอายุมากกว่า 12 ปี จำนวน 152 คน มีอาการเป็นไข้ และเจ็บคอ มารับการรักษาที่โรงพยาบาลชุมชน 6 แห่ง และองค์การเภสัชกรรม แบ่งเป็นกลุ่มแบบสุ่มให้ได้รับยาพาราเซตามอล จำนวน 53 คน  แคปซูลฟ้าทะลายโจรขนาด 3 ก./วัน จำนวน 48 คน ขนาด 6 ก./วัน จำนวน 51 คน กินติดต่อกันนาน 7 วัน พบว่าในวันที่ 3 ของการรักษาผู้ป่วยกลุ่มที่ได้รับพาราเซตามอลหรือแคปซูลฟ้าทะลายโจร ขนาด 6 ก./วัน อาการไข้และอาการเจ็บคอจะหายไปมากกว่ากลุ่มที่ได้รับฟ้าทะลายโจรขนาด 3 ก./วัน  แต่ผลการรักษาไม่มีความแตกต่างกันในวันที่ 7 ของการรักษา

ฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย  สารสกัดเอทานอล 95% จากใบอย่างเข้มข้น และสารสกัดน้ำจากราก ยับยั้งเชื้อ Staphylococcus aureus ในจานเลี้ยงเชื้อ สารสกัดเอทานอล 80% จากราก ขนาด 12.5 มก./มล. และ 25 มก./มล. ให้ผลไม่ชัดเจนในการยับยั้งเชื้อ Pseudomonas aeruginosa และ S. aureus ในจานเลี้ยงเชื้อ ตามลำดับ และสารสกัดน้ำร้อนจากใบอย่างเข้มข้น ให้ผลไม่ชัดเจนในการยับยั้งเชื้อ S. aureus ในจานเลี้ยงเชื้อเช่นกัน ทดสอบสารสกัดเฮกเซน และสารสกัดน้ำจากฟ้าทะลายโจรทั้งต้น ความเข้มข้น 200 มก./มล. ด้วยวิธี agar well diffusion method ไม่มีผลยับยั้งเชื้อ S. aureus เมื่อป้อนสารแขวนลอยของผงใบและลำต้นฟ้าทะลายโจรแก่หนูขาว (Wistar albino weaning rats) 3 กลุ่มๆ ละ 24 ตัว ขนาด 0.12, 1.2 และ 2.4 ก./กก. นาน 6 เดือน โดยมีหนูอีก 24 ตัว กินอาหารตามปกติ เป็นกลุ่มควบคุม หลังจากนั้นวางยาสลบหนู ดูดเอาเลือดจากห้องหัวใจ ตัดเนื้อเยื่อปอดและตับมาวางไว้ที่จานเลี้ยงเชื้อที่มี B. subtilis และ pathogenic bacteria พบว่า ฟ้าทะลายโจรทุกขนาดความเข้มข้นไม่มีผลยับยั้งแบคทีเรีย S. aureus และได้ทดลองในอาสาสมัคร 10 ราย สุ่มกินสมุนไพรขนาดเดียวต่อหนึ่งสัปดาห์ เป็นเวลา 4 สัปดาห์ ขนาดต่าง ๆ ที่ใช้ คือ 1, 2, 3 และ 6 กรัม เจาะเลือดก่อนกินและหลังกินสมุนไพร 1, 2, 4, 8 และ 24 ชม. แยกซีรัมมาทดสอบฤทธิ์ต้านแบคทีเรีย พบว่าซีรัมทุกตัวอย่างไม่สามารถยับยั้งการเจริญเติบโตของ S. aureus  เมื่อนำผงฟ้าทะลายโจรมาละลายในน้ำกลั่น ความเข้มข้นตั้งแต่ 1-25,000 มก./ล. แบ่งสารละลายออกเป็น 3 ส่วน ส่วนที่หนึ่งนำมาต้มนาน 30 นาที ส่วนที่สองนำมาอบความร้อนจากไอน้ำที่อุณหภูมิ 120°C นาน 15 นาที ส่วนที่สามเก็บไว้ในตู้เย็นจนกระทั่งถึงเวลาทำการทดสอบ ทดสอบฤทธิ์ต้านแบคทีเรียด้วยวิธี broth dilution method พบว่าสารละลายทั้งสามส่วนไม่สามารถออกฤทธิ์ต้านการเจริญเติบโตของ S. aureus

          สารสกัดน้ำและสารสกัดอัลกอฮอล์จากส่วนที่อยู่เหนือดิน มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรีย Streptococcus group A, Streptococcus group B และ Staphylococcus aureus ได้เล็กน้อย และ lactones ที่แยกสกัดจากอัลกอฮอล์ (95%) จากใบและกิ่งก้าน คือ andrographolide, 14-deoxyandrographolide, 14-deoxy-11,12-didehydroandrographolide และ neoandrographolide ไม่มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อแบคทีเรียทั้ง 3 ชนิดดังกล่าว

ผลต่อระบบภูมิคุ้มกัน เมื่อฉีดส่วนสกัดที่ละลายน้ำจากฟ้าทะลายโจรเข้าช่องท้องหนูถีบจักร จะกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันแบบ humoral immune response และกดระบบการจับกินสิ่งแปลกปลอม (phagocytosis system) และระบบภูมิคุ้มกันแบบเซลล์ (cellular immune) เมื่อให้ส่วนสกัดที่ไม่ละลายน้ำทางปากหนูถีบจักร จะกระตุ้นระบบการจับกินสิ่งแปลกปลอม และกดระบบภูมิคุ้มกันแบบเซลล์

          เมื่อให้สารสกัดเอทานอลจากฟ้าทะลายโจรทางปากหนูถีบจักร ขนาด 25 มก./กก. นาน 7 วันติดต่อกัน แล้วจึงให้ sheep red blood cell (SRBC) และเมื่อให้สารบริสุทธิ์ andrographolide และ neoandrographolide ทางปากหนูถีบจักร ขนาด 1 มก./กก. นาน 7 วัน หรือฉีดเข้าทางช่องท้อง ขนาด 4 มก./กก./วัน นาน 3 วัน แล้วจึงให้ SRBC พบว่า

ผลต่อ antigen specific immune response พบว่าสารสกัดและ andrographolide จะส่งเสริมการตอบสนองของ humoral immune และการตอบสนองแบบ delayed type hypersensitivity ดีขึ้น โดยมีค่า hemagglutinating antibody (HA) titer, hemolytic plaque-forming cells (PFC) assay และ delayed type hypersensitivity (DTH) เพิ่มขึ้น แตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม
ผลต่อ nonspecific immune response พบว่าสารสกัดและสารบริสุทธิ์ จะส่งเสริมการตอบสนองของภูมิคุ้มกันแบบไม่เฉพาะเจาะจงดีขึ้น โดยมีค่า macrophage migration index (MMI), percent phagocytosis และ mitogen response เพิ่มขึ้น และแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม
การให้ andrographolide และ neoandrographolide ทางปากและฉีดเข้าช่องท้องหนูถีบจักร พบว่าเมื่อฉีดสารเข้าช่องท้องจะไปกระตุ้นระบบภูมิคุ้มกันทั้งแบบ antigen specific และ nonspecific ได้ดีกว่าให้ทางปาก
ฤทธิ์ต้านการแพ้ สาร andrographolide และ neoandrographolide จากฟ้าทะลายโจร จะต้านการเกิดปฏิกิริยาการแพ้แบบ passive cutaneous anaphylaxis และมีผลทำให้ mast cell ที่ถูกกระตุ้นด้วยสาร 48/80 และ egg albumin ไม่เกิดปฏิกิริยา (stabilizing)

ฤทธิ์ต่อระบบทางเดินอาหาร ช่วยรักษาอาการท้องเสีย จากการทดลองรักษาอาการท้องเสียในผู้ป่วยโรคอุจจาระร่วงเฉียบพลันและติดเชื้อแบคทีเรียที่ก่อให้เกิดโรคบิด จำนวน 200 ราย เป็นชาย 98 ราย หญิง 102 ราย  ให้รับประทานผงฟ้าทะลายโจรบรรจุแคปซูล ขนาด 250 มิลลิกรัม โดยแบ่งเป็น 2 แผนการรักษา คือ 500 มิลลิกรัม ทุก 6 ชั่วโมง นาน 3 วัน และขนาด 1 กรัม ทุก 12 ชั่วโมง นาน 2 วัน พบว่าฟ้าทะลายโจรให้ผลการรักษาดีเช่นเดียวกับยาเตตร้าซัยคลิน ช่วยลดระยะเวลาที่ต้องนอนพักในโรงพยาบาล  ลดปริมาณน้ำเกลือที่ให้ทดแทน และลดปริมาณการถ่ายอุจจาระเหลวทั้งจำนวนครั้งและระยะเวลาที่ถ่ายได้ทั้ง 2 แผนการรักษา โดยการรับประทานในขนาด 1 กรัม จะได้ผลดีกว่าขนาด 500 มิลลิกรัม  อย่างไรก็ดีเมื่อเปรียบเทียบผลต่อเชื้ออหิวาตกโรคในอุจจาระผู้ป่วย ฟ้าทะลายโจรลดจำนวนเชื้ออหิวาตกโรคได้ไม่ดีเท่ากับเตตร้าซัยคลิน แต่ลดจำนวนเชื้อบิดได้ดีกว่า

ฤทธิ์ต่อระบบทางเดินหายใจ ช่วยรักษาอาการไอ เจ็บคอ ป้องกันและบรรเทาหวัดในการศึกษาเปรียบเทียบการใช้ฟ้าทะลายโจรเพื่อป้องกันหวัด ซึ่งทำในช่วงฤดูหนาว โดยให้นักเรียนรับประทานยาเม็ดฟ้าทะลายโจรแห้ง ขนาด 200 มิลลิกรัม/วัน ติดตามผลไปในเดือนแรกของการทดลองไม่พบความแตกต่างระหว่างกลุ่มที่รับประทานยาและกลุ่มควบคุม แต่หลังจาก 3 เดือนของการทดลองพบว่าอุบัติการณ์การเป็นหวัดในกลุ่มที่ได้ฟ้าทะลายโจรลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม โดยอัตราการเป็นหวัดในกลุ่มที่ได้รับฟ้าทะลายโจรเท่ากับร้อยละ 20  ในขณะที่กลุ่มควบคุมมีอัตราการเป็นหวัดเท่ากับร้อยละ 62   อาจสรุปได้ว่าฟ้าทะลายโจรให้ผลป้องกันของยา (the attributable protective effect) เท่ากับร้อยละ 33


การศึกษาทางพิษวิทยา
ก่อกลายพันธุ์ ส่วนสกัดเฮกเซนและส่วนสกัดอัลกอฮอล์จากฟ้าทะลายโจร และสารสกัดน้ำจากใบและลำต้น ขนาด 40 มก./จานเพาะเชื้อ (14) ไม่มีฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ใน S. typhimurium TA98 และ TA100 ผลต่อระบบสืบพันธุ์มีการทดสอบความเป็นพิษของฟ้าทะลายโจร โดยนำสารสกัดมาตรฐาน (สกัดด้วยอัล-กอฮอล์ 70%) มาให้หนูขาวกินในขนาด 20, 200 และ 1,000 มก./กก. เป็นเวลา 60 วัน ไม่พบพิษต่ออวัยวะสืบพันธุ์ แต่มีรายงานว่าเมื่อให้อาหารที่ผสมลำต้นในสัดส่วน 40 มก.ต่อหนูถีบจักร Wistar ทั้งเพศผู้และเพศเมียแต่ละตัว นาน 14 วัน แล้วจึงให้ผสมพันธุ์ และยังคงให้อาหารที่ผสมฟ้าทะลายโจรต่ออีก 3 สัปดาห์ พบว่าหนูเพศเมียเป็นหมัน เมื่อให้อาหารที่มีส่วนผสมของราก ลำต้น และใบฟ้าทะลายโจร 0.75% แก่หนูถีบจักร Wistar ทั้งเพศผู้และเพศเมีย พบว่าอาหารที่มีส่วนผสมของลำต้น 0.75% กินนาน 3 สัปดาห์ขึ้นไปเท่านั้นที่มีผลลดการมีลูกของหนูเพศผู้และมีรายงานว่าทำให้การผลิตอสุจิลดลง เมื่อกรอกให้หนูขาวในขนาด 20 มก./ตัว เป็นเวลา 60 วัน มีการเปลี่ยนแปลงของ seminiferous tubules และ regression of leydig cells ต่อมาได้มีการทดลองผลของ andrographolide โดยให้หนูขาวอายุ 3 เดือน 2 ขนาดเป็นเวลา 48 วัน พบว่าการผลิตอสุจิลดลง อสุจิไม่เคลื่อนไหว และบางตัวมีความผิดปกติ และมีการผิดปกติเช่นเดียวกับเมื่อให้ผงฟ้าทะลายโจร         

พิษต่อเซลล์สารสกัดเมทานอลจากใบ ขนาด 5.3 และ 3.1 มคก./มล. เป็นพิษต่อเซลล์ human epidermoid carcinoma of nasopharynx และ P388 lymphocytic leukemia cells ในหลอดทดลอง ตามลำดับ โดยมีสาร andrographolide เป็นสารออกฤทธิ์ในขนาด 1.5 และ 1 มคก./มล. ตามลำดับ ส่วนสาร 14-deoxy-11,12-didehydroandrographolide และ neoandrographolide ไม่เป็นพิษต่อเซลล์ดังกล่าว สารสกัดน้ำจากส่วนเหนือดินเป็นพิษต่อเซลล์เพาะเลี้ยง MT-4 สารสกัดคลอโรฟอร์มจากใบ ความเข้มข้น 3.91 มค.ก./มล. เป็นพิษต่อเซลล์เพาะเลี้ยง MT-4 และสารสกัดน้ำร้อนจากส่วนเหนือดิน เป็นพิษต่อเซลล์เพาะเลี้ยง Hep-2 ความเข้มข้นที่เป็นพิษต่อเซลล์ 50% เท่ากับ 295 มค.ก./มล. ในขณะที่สารสกัดเมทานอลจากใบเป็นพิษต่อเซลล์เพาะเลี้ยง MT-4 อย่างอ่อน และสารสกัดน้ำจากใบขนาด 220 มคก./มล. ให้ผลไม่ชัดเจนในการแสดงฤทธิ์เป็นพิษต่อเซลล์เพาะเลี้ยง MT-4


ข้อแนะนำ/ข้อควรระวัง
ความขมของฟ้าทะลายโจรด้วยการชิมเปรียบเทียบกับสารมาตรฐานควินินไฮโดรคลอไรด์ พบว่า มีค่าความขม 1,042 หน่วย/กรัม ซึ่งมากกว่าชิงช้าชาลี (563 หน่วย/กรัม) และบอระเพ็ด (335 หน่วย/กรัม)ทั้งนี้ การหลีกเลี่ยงรสขมในการรับประทาน ที่นิยมปัจจุบันได้แก่ การเตรียมเป็นยาแคปซูลหรือยาเม็ดเคลือบ
ฟ้าทะลายโจรอาจทำให้เกิดอาการปวดท้อง ท้องเดิน ปวดเอว หรือวิงเวียนศีรษะ ใจสั่น ในผู้ป่วยบางราย หากมีอาการดังกล่าว ควรหยุดใช้ฟ้าทะลายโจร
หากใช้ติดต่อกันเป็นเวลานาน อาจทำให้แขนขามีอาการชา หรืออ่อนแรง
หากใช้ฟ้าทะลายโจรติดต่อกัน 3 วัน แล้วไม่หาย หรือมีอาการรุนแรงขึ้นระหว่างใช้ยา ควรหยุดใช้และไปพบแพทย์
สตรีมีครรภ์ไม่ควรใช้ฟ้าทะลายโจร
ผลการทดลองในสัตว์พบว่าฟ้าทะลายโจรอาจรบกวนระบบการสืบพันธุ์ แต่ยังไม่มีหลักฐานยืนยันผลในคนในปัจจุบัน ผู้ที่มีภาวะมีบุตรยาก (Infertility) หรือมีปัญหาในการตั้งครรภ์จึงควรหลีกเลี่ยงที่รับประทาน
ผู้ที่รับประทานยาเป็นประจำควรปรึกษาแพทย์ก่อนการรับประทานฟ้าทะลายโจรทุกครั้ง เนื่องจากยาบางชนิดอาจเกิดปฏิกิริยาต่อกันของยาและสมุนไพร เช่น ยากดภูมิคุ้มกัน ยาต้านการแข็งตัวของเลือด ยาต้านเกล็ดเลือด
ผู้ที่มีความดันโลหิตต่ำไม่ควรใช้ฟ้าทะลายโจร เพราะฟ้าทะลายโจรมีสรรพคุณในการลดความดันโลหิตอยู่แล้ว ซึ่งถ้าหากใช้ฟ้าทะลายโจรอาจจะทำให้เกิดอาการหน้ามืด วิงเวียนศีรษะ หรือมีอาการมึนงง
                





 เอกสารอ้างอิง

กมล สวัสดีมงคล อุไรวรรณ เพิ่มพิพัฒน์ นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี มนัส หวังหมัด กัลยา อนุลักษณาปกรณ์ สุชาดา กิตติศิริพรกุล วราพร จิรจริยะเวช.  การศึกษาทางเภสัชวิทยาของฟ้าทะลายโจร.  รายงานการประชุมฟ้าทะลายโจร กรมวิทยาศาสตร์การ แพทย์.
สถาบันการแพทย์แผนไทย.ฟ้าทะลายโจร.คอลัมน์สมุนไพรน่ารู้.นิตยสารหมอชาวบ้าน.เล่มที่ 318.ตุลาคม.2548
สำนักงานข้อมูลสมุนไพร.  คู่มือสมุนไพรประจำตู้ยา. กรุงเทพฯ: คณะเภสัชศาสตร์  มหาวิทยาลัยมหิดล, 2531. หน้า 83.
Thamaree S, Rugrungtham K, Ruangrungsi N, Thaworn N, Kemsri W.  The inhibitory effects of andrographolide and extracts of some herbal medicines on the production of proinflammatory cytokines by LPS-stimulated human blood cells.  Chula Med J 2001;45(8):661-70.
นันทวัน บุณยะประภัศร. 2529. ก้าวไปกับสมุนไพร.ศูนย์ข้อมูลสมุนไพร. คณะเภสัชศาสตร์, มหาวิทยาลัยมหิดล.
นวลตา ม่วงน้อยเจริญ อัญชลี ตัตตะวะศาสตร์ วิชัย ปราสาททอง และคณะ.  ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบทางเคมีของฟ้าทะลายโจรและผลทางการรักษาโรค.  โครงการพิเศษ คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล, 2538.
แก้ว กังสดาลอำไร วรรณี โรจนโพธิ์.  การประเมินฤทธิ์ก่อกลายพันธุ์ของสมุนไพรไทยในรูปของยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณตามประกาศกระทรวงสาธารณสุขและสมุนไพรบางชนิด โดยวิธีเอมส์เทสต์.  รายงานการวิจัย สถาบันวิจัยโภชนาการ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ภก.ชัยโย ชัญชาญทิพยุทธ.ฟ้าทะลายโจร.คอลัมน์สมุนไพรน่ารู้.นิตยสารหมอชาวบ้าน.เล่มที่9.กุมภาพันธ์.2523
Shamsuzzoha M, Shamsur Rahman M, Muhiuddin Ahmed M.  Antifertility activity of a medicinal plant of the genus  Andrographis Wall (Family Acanthaceae).  Bangladesh Med Res Counc Bull 1979;5(1):14-8.
ฟ้าทะลายโจร.สมุนไพรที่ใช้ในงานสาธารณสุขมูลฐาน.สำนักงานข้อมูลสมุนไพรคณะเภสัชศาสตร์มหาวิทยาลัยมหิดล.
Valsaraj R, Pushpangadan P, Smitt UW, Adsersen A, Nyman U.  Antimicrobial screening of selected medicinal plants from India.  J Ethnopharmacol 1997;58(2):75-83.
ฟ้าทะลายโจร สรรพคุณและการปลูกฟ้าทะลายโจร.พืชเกษตรดอทคอม.เว็บเพื่อพืชเกษตรไทย (ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก http://puechkaset.com
โครงการสมุนไพรเพื่อการพึ่งตนเอง. ฟ้าทะลายโจร.  ข่าวสมุนไพร 2527;20:19.
ศุภรัตน์ เนินปลอด. 2556. การอบฟ้าทะลายโจรด้วยลมร้อน-
ร่วมกับรังสีอินฟาเรดไกลและสนามไฟฟ้าแรงดันสูง. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
Shen YC, Chen CF, Chiou WF.   Andrographolide prevents oxygen radical production by human neutrophils: possible mechanism(s) involved in its anti-inflammatory effect.  Br J Pharmacol  2002;135(2):399-406.
โสภิต ธรรมอารี จันทิมา ปโชติการ  มณฑิรา ตัณฑ์เกยูร  จันทนี อิทธิพานิชพงศ์.  ฤทธิ์ของยาสมุนไพร 30 ชนิดที่มีสรรพคุณในการรักษาโรคท้องร่วงและบิดต่อการบีบตัวของลำไส้เล็กหนูตะเภา.  จุฬาลงกรณ์เวชสาร 2528;29(1):39-51.
ฟ้าทะลายโจรสมุนไพรใกล้ตัวกับข้อเท็จจริงทางการแพทย์.พบแพทย์ดอทคอม.(ออนไลน์)เข้าถึงได้จากhttp://pobpad.com
กมล สวัสดีมงคล อุไรวรรณ เพิ่มพิพัฒน์ นิยดา เกียรติยิ่งอังศุลี และคณะ.  การศึกษาทางเภสัชวิทยาของฟ้าทะลายโจร.  รายงานการประชุมฟ้าทะลายโจร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์.
Nakannishi K, Sasaki SI, Kiang AK, Goh J, KAkisawa H, Ohashi M. Phytochemical and pharmacological screening. Chem Pharm Bull 1965;13:822.
   นวลตา ม่วงน้อยเจริญ อัญชลี ตัตตะวะศาสตร์ วิชัย ปราสาททอง และคณะ.  ความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบทางเคมีของฟ้าทะลายโจรและผลทางการรักษาโรค.  โครงการพิเศษ คณะเภสัชศาสตร์ ม.มหิดล, 2538
พเยาว์ เหมือนวงศ์ญาติ. 2529. ตำราวิทยาศาสตร์สมุนไพร.
เสาวภา ลิมป์พานิชกุล.  การศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบของสมุนไพรฟ้าทะลายโจรในหนูขาว.  วิทยานิพนธ์ สาขาเภสัชวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532.
ฟ้าทะลายโจร.ฐานข้อมูลเครื่องยาคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี (ออนไลน์)เข้าถึงได้จาก http://www.thaicrudedrug.com/main.php?action=viewpage&pid=97
Batkhuu J, Hattori K, Takano F, Fushiya S, Oshiman K, Fujimiya Y.  Supression of NO production in activated macrophages in vitro and ex vivo by neoandrographolide isolated from Andrographis paniculata.  Biol Pharm Bull 2002;25(9):1169-74.
Johansson S, Goransson U, Luijendijk T, Backlund A, Claeson P, Bohlin L.  A neutrophil multitarget functional bioassay to detect ant-inflammatory natural products.  J Nat Prod 2002;65:32-41.
Puri A, Saxena R, Saxena RP, Saxena KC.  Immunostimulant agents from Andrographis paniculata.  J Nat Prod 1993;56(7):995-9.
Li Y, Jiang Y. Preparation of compound Picrasma quassioides anti-inflammatory capsules.  Patent: Faming Zhuanli Shenqing Gongkai Shuomingshu CN 1562245, 2005:5pp.
Gupta S, Yadava JNS, Tandon JS.  Antisecretory (antidiarrhoeal) activity of Indian medicinal plants against Escherichia coli enterotoxin-induced secretion in rabbit and guinea pig ileal loop models.  Int J Pharmacog 1993;31(3):198-204.
Gupta PP, Tandon JS, Patnaik GK.  Antiallergic activity of andrographolides isolated from Andrographis paniculata (Burm.f.) Wall.  Pharm Biol (Lisse, Neth) 1998;36(1): 72-4.

https://www.disthai.com/16941261/%E0%B8%9F%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B8%97%E0%B8%B0%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B9%82%E0%B8%88%E0%B8%A3

อาชายาดอง

อาชายาดอง

เห็ดกระถินพิมานรักษามะเร็ง

พ่นควันไล่ผึ้ง

รักษาเก๊าท์

โกฏจุฬาลัมพาแห้ง

ยาดองล้มช้าง

ยาดองล้มช้าง