โดยทั่วไปแล้ว ความชื้นในอากาศ ที่เราเรียกกันสั้น ๆ ว่า ความชื้น ซึ่งมาจาก คำเต็ม ๆ ว่าความชื้นสัมพัทธ์ (relative humidity หรือ RH) หมายถึง อัตราส่วน ระหว่าง ปริมาณความชื้น(ไอน้ำ) ที่มีอยู่จริงในอากาศ กับปริมาณความชื้น(ไอน้ำ)ที่ อากาศขณะนั้น จะรองรับได้เต็มที่ ณ อุณหภูมิเดียวกัน (Matthes and Rushing, 1972)
.
หากปริมาณความชื้น มีมากกว่าก็จะกลั่นตัว เป็นหยดน้ำ
หน่วยของความชื้นสัมพัทธ์ จึงออกมาเป็นเปอร์เซ็น (%
ความชื้น (Humidity)
- ปริมาณของไอน้ําในอากาศ
- มีอิทธิพลทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศได้อย่างรุนแรง
- เป็นกลไกในการขับเคลื่อนให้เกิดการเปลยนแปลงสภาพลมฟ้าอากาศ
- ความชื้นของอากาศมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จะมากหรือน้อย
ขึ้นอยู่กับความดัน และอุณหภูมิ
ความชื้นสัมพัทธ์(Relativety humidity) หมายถึง “อัตราส่วนของปริมาณไอน้ําที่มี
อยู่จริงในอากาศ ต่อ ปริมาณไอน้ําที่จะทําให้อากาศอิ่มตัว ณ อุณหภูมิเดียวกัน” หรือ
“อัตราส่วนของความดันไอน้ําที่มีอยู่จริง ต่อ ความดันไอน้ําอิ่มตัว” ค่าความชื้นสัมพัทธ์
แสดงในรูปของร้อยละ (%)
ความชื้นสัมพัทธ์ =(ปริมาณไอน้ําที่อยู่ในอากาศ / ปริมาณไอน้ําที่ทําให้อากาศ
อิ่มตัว ) x 100% หรือ ความชื้นสัมพัทธ์ =(ความดันไอน้ําที่มีอยู์ในอากาศ / ความดันไอน้ําของ
อากาศอิ่มตัว) x 100%
ในการวัดความชื้นสัมพัทธ์เราใชเครื่องมือซึ่งเรียกว่า “ไฮโกรมิเตอร์” (Hygrometer)
.
หากปริมาณความชื้น มีมากกว่าก็จะกลั่นตัว เป็นหยดน้ำ
หน่วยของความชื้นสัมพัทธ์ จึงออกมาเป็นเปอร์เซ็น (%
ความชื้น (Humidity)
- ปริมาณของไอน้ําในอากาศ
- มีอิทธิพลทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพอากาศได้อย่างรุนแรง
- เป็นกลไกในการขับเคลื่อนให้เกิดการเปลยนแปลงสภาพลมฟ้าอากาศ
- ความชื้นของอากาศมีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา จะมากหรือน้อย
ขึ้นอยู่กับความดัน และอุณหภูมิ
ความชื้นสัมพัทธ์(Relativety humidity) หมายถึง “อัตราส่วนของปริมาณไอน้ําที่มี
อยู่จริงในอากาศ ต่อ ปริมาณไอน้ําที่จะทําให้อากาศอิ่มตัว ณ อุณหภูมิเดียวกัน” หรือ
“อัตราส่วนของความดันไอน้ําที่มีอยู่จริง ต่อ ความดันไอน้ําอิ่มตัว” ค่าความชื้นสัมพัทธ์
แสดงในรูปของร้อยละ (%)
ความชื้นสัมพัทธ์ =(ปริมาณไอน้ําที่อยู่ในอากาศ / ปริมาณไอน้ําที่ทําให้อากาศ
อิ่มตัว ) x 100% หรือ ความชื้นสัมพัทธ์ =(ความดันไอน้ําที่มีอยู์ในอากาศ / ความดันไอน้ําของ
อากาศอิ่มตัว) x 100%
ในการวัดความชื้นสัมพัทธ์เราใชเครื่องมือซึ่งเรียกว่า “ไฮโกรมิเตอร์” (Hygrometer)
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น